ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชวลิต ประกอบสุข (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ชวลิต ประกอบสุข (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
 
== พระประวัติ ==
[[ไฟล์:Pagoda of Phra Wichai (Fai Na) of Champasak.jpg|thumb|250px|'''"ธาตุหลวงเฒ่า"''' เจดีย์บรรจุอัฐิธาตุของพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช (ท้าวเจ้าฝ่ายหน้า หรือ เจ้าหน้า) เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ลำดับ องค์ที่ 3 ที่วัดเหนือในเมืองเก่าคันเกิง [[แขวงจำปาศักดิ์]] [[ประเทศลาว]]|alt=|left]]
เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช มีพระนามเดิมว่า '''เจ้าฝ่ายหน้า''' หรือ '''เจ้าหน้า''' (ตามเอกสารของราชการไทย) สมภพเมื่อปี พ.ศ. 2269 ที่นครเวียงจันทน์ เป็นพระโอรสของเจ้าพระวรราชปิตา ([[เจ้าพระตา]]) แห่งนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน ([[หนองบัวลำภู]]) กับพระนางบุศดี ซึ่งสืบเชื้อสายมาจาก[[เจ้าปางคำ]]แห่ง[[เมืองเชียงรุ้ง]] และเป็นพระอนุชาของ[[พระประทุมวรราชสุริยวงศ์]] (เจ้าคำผง) เจ้าผู้ครองเมือง[[อุบลราชธานี]]องค์แรก
 
และต่อมาได้อพยพหนีราชภัยจาก[[พระเจ้าสิริบุญสาร]] แห่ง[[อาณาจักรล้านช้าง|อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์]] มาพร้อมกันกับกลุ่มของเจ้าพระวอและเจ้าคำผง หลังสิ้นสงครามกับนครเวียงจันทน์ ใน [[พ.ศ. 2318]] แล้ว [[พระประทุมวรราชสุริยวงศ์]] (เจ้าคำผง) ขณะนั้นมีบรรดาศักดิ์เป็นพระปทุมราชวงศา ได้พาไพร่พลของตนเองจากเวียงดอนกองไปมาตั้งเมืองอุบลอยู่ที่บ้านห้วยแจระแม ดอนมดแดง
 
พ.ศ. 2319 เกิดน้ำท่วมใหญ่ที่ดอนมดแดง พระประทุมสุรราช (เจ้าคำผง)และเจ้าฝ่ายหน้าจึงพาไพร่พลอพยพหนีน้ำมาอยู่ที่ดอนริมห้วยแจระแม (ปัจจุบันคือบ้านท่าบ่อ ตำบลแจระแม อยู่เหนือตัวเมืองอุบลราชธานี ประมาณ 8 กิโลเมตร)
ในปี [[พ.ศ. 2329]] เจ้าฝ่ายหน้าพร้อมกับเจ้านางอูสา แลเจ้าคำสิงห์ พระโอรสคนโต นำไพร่พลส่วนหนึ่งไปตั้งมั่นเป็นกองนอกอยู่ที่'''บ้านสิงห์ท่า''' (ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นเมืองยศสุนทรในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 หรือคือ จังหวัด[[ยโสธร]]ในปัจจุบัน)
 
ในปี [[พ.ศ. 2329]] เจ้าฝ่ายหน้าพร้อมกับ เจ้านางอูสา แลพร้อมเจ้าคำสิงห์ พระโอรสคนโต นำไพร่พลส่วนหนึ่งไปตั้งมั่นเป็นกองนอกอยู่ที่ '''บ้านสิงห์ท่า''' (ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นเมืองยศสุนทรในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 หรือคือ จังหวัด[[ยโสธร]]ในปัจจุบัน)
ในปี [[พ.ศ. 2334]] เกิดเหตุ[[กบฏอ้ายเชียงแก้ว]]ที่[[อาณาจักรล้านช้าง|อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์]] ทางฝ่ายนครจำปาศักดิ์ไม่สามารถรับมือได้ เนื่องจาก[[พระเจ้าองค์หลวงไชยกุมาร]] เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ในเวลานั้น ถึงแก่พิราลัยกะทันหันหลังจากได้รับทราบข่าวศึก (ก่อนหน้านั้นพระเจ้าองค์หลวงฯ เองก็ประชวรเรื้อรังมานานแล้ว) เจ้าหน้าได้ร่วมมือกับ[[พระประทุมวรราชสุริยวงศ์|พระประทุมราชวงศา (เจ้าคำผง)]] เจ้าผู้ครองเมืองอุบล ผู้เป็นพี่ชาย ยกทัพไปปราบกบฏอ้ายเชียงแก้วจนราบคาบ และเจ้าฝ่ายหน้าได้จับตัวอ้ายเชียงแก้วประหารชีวิตที่[[แก่งตะนะ]] (อยู่ใน[[แม่น้ำมูล]] ระหว่าง[[อำเภอพิบูลมังสาหาร]]กับ[[อำเภอสิรินธร]]ในปัจจุบัน) ก่อนหน้าที่กองทัพเมือง[[นครราชสีมา]]จะยกมาถึงตามรับสั่งจากกรุงเทพฯ
 
ในปี [[พ.ศ. 2334]] เกิดเหตุ[[กบฏอ้ายเชียงแก้ว]]ที่[[อาณาจักรล้านช้าง|อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์]] ทางฝ่ายนครจำปาศักดิ์ไม่สามารถรับมือได้ เนื่องจาก[[พระเจ้าองค์หลวงไชยกุมาร]] เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ในเวลานั้น ถึงแก่พิราลัยกะทันหันหลังจากได้รับทราบข่าวศึก (ก่อนหน้านั้นพระเจ้าองค์หลวงฯ เองก็ประชวรเรื้อรังมานานแล้ว) เจ้าหน้าได้ร่วมมือกับ[[พระประทุมวรราชสุริยวงศ์|พระประทุมราชวงศา (เจ้าคำผง)]] เจ้าผู้ครองเมืองอุบล ผู้เป็นพี่ชาย ยกทัพไปปราบกบฏอ้ายเชียงแก้วจนราบคาบ และเจ้าฝ่ายหน้าได้จับตัวอ้ายเชียงแก้วประหารชีวิตที่[[แก่งตะนะ]] (อยู่ใน[[แม่น้ำมูล]] ระหว่าง[[อำเภอพิบูลมังสาหาร]]กับ[[อำเภอสิรินธร]]ในปัจจุบัน) ก่อนหน้าที่กองทัพเมือง[[นครราชสีมา]]จะยกมาถึงตามรับสั่งจากกรุงเทพฯ
ใน พ.ศ. 2335 ด้วยความดีความชอบในครั้งนี้ ทำให้เจ้าหน้าได้รับการแต่งตั้งเป็น "เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช"<ref>ชื่อตาม ''พงศาวดารหัวเมืองมณฑลอีสาน'' ของ[[หม่อมอมรวงศ์วิจิตร]]</ref> เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ ลำดับที่ 3
 
ใน พ.ศ. 2335 ด้วยความดีความชอบในครั้งนี้ จึงทำให้เจ้าฝ่ายหน้าได้รับการแต่งตั้งเป็น "เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช"<ref>ชื่อตาม ''พงศาวดารหัวเมืองมณฑลอีสาน'' ของ[[หม่อมอมรวงศ์วิจิตร]]</ref> เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ประเทศราช ลำดับองค์ที่ 3
== พระกรณียกิจ ==
 
เมื่อ [[พ.ศ. 2335]]2338 เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชจึงแบ่งไพร่พลเข้ามาอยู่ที่ได้มีใบบอกขอรับพระราชทานเจ้าทิดพรหมขึ้นเป็นเจ้าผู้ครองเมืองจำปาศักดิ์อุบลราชธานีสือต่อไป และตั้งให้เจ้าคำสิงห์ก่ำ (บุตรเจ้าพระวอ) เป็นเจ้าราชวงศ์อุปราช ต่อมา[[เมืองโขงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] (สีทันดร)รัชกาลที่ (ต่อมาได้รับ2 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ามีราชทินนามเกล้าฯ ตั้งให้เจ้าทิดพรหมเป็นที่[[ '''เจ้าพระสุนทรพรหมวรราชวงศา]]สุริยวงศ์''' ดำรงฐานะเจ้าผู้ครองเมืองยศสุนทร)อุบลราชธานี องค์ที่ 2 และเจ้าก่ำเป็นที่เจ้าอุปราชเมืองอุบลราชธานี
 
== พระกรณียกิจ ==
เมื่อ [[พ.ศ. 2339]] เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชได้ย้าย[[เมืองจำปาศักดิ์]]จากที่เดิมซึ่งอยู่ที่บ้านศรีสุมัง ริมฝั่ง[[แม่น้ำโขง]] มาตั้งอยู่ในบริเวณบ้านคันเกิง อยู่ทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ตรงข้าม[[ปากเซ|ปากแม่น้ำ]][[แม่น้ำเซโดน|เซโดน]] (ปัจจุบันเรียกว่า เมืองเก่าคันเกิง อยู่ที่บ้านเมืองเก่า เมืองโพนทอง [[แขวงจำปาศักดิ์]] [[ประเทศลาว]])
[[พ.ศ. 2334]] เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชจึงแบ่งไพร่พลบ้านสิงห์ท่าส่วนหนึ่งมาอยู่ที่นครจำปาศักดิ์ และตั้งให้เจ้าคำสิงห์เป็นเจ้าราชวงศ์[[เมืองโขง]] หรือ สีทันดอน (ต่อมา พศ. 2357 รัชกาลที่ 2 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งให้เป็นที่[[พระสุนทรราชวงศา]] ดำรงฐานะเจ้าผู้ครองเมืองยศสุนทรประเทศราชองค์แรก)
 
เมื่อ [[พ.ศ. 2339]] เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชได้ย้าย[[เมืองจำปาศักดิ์]]จากที่เดิมซึ่งอยู่ที่บ้านศรีสุมัง ริมฝั่ง[[แม่น้ำโขง]] มาตั้งอยู่ในบริเวณบ้านคันเกิง อยู่ทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ตรงข้าม[[ปากเซ|ปากแม่น้ำ]][[แม่น้ำเซโดน|เซโดน]] (ปัจจุบันเรียกว่า เมืองเก่าคันเกิง อยู่ที่บ้านเมืองเก่า เมืองโพนทอง [[แขวงจำปาศักดิ์]] [[ประเทศลาว]])
ปี [[พ.ศ. 2348]] เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชได้มีใบบอกมายังกรุงเทพฯ เพื่อขอโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านนายอนเป็นเมือง [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกบ้านนายอนขึ้นเป็นเมืองสพาดตามคำขอนั้น
 
[[พ.ศ. 2348]] เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชได้มีใบบอกมายังกรุงเทพฯ เพื่อขอโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านนายอนเป็นเมือง [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกบ้านนายอนขึ้นเป็นเมืองสพาดตามคำขอนั้น

[[พ.ศ. 2353]] มีครัว[[ชาวเขมร]]ภายใต้การนำของพระยาเดโช เจ้า[[เมืองกำปงสวาย]] กับนักปรัง ผู้น้องชาย อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในแถบ[[เมืองโขง]] เนื่องจากกลุ่มคนดังกล่าวเกิดความขัดแย้งกับ[[สมเด็จพระอุทัยราชา]] (นักองจัน) พระเจ้าแผ่นดิน[[กัมพูชา]] เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชได้มีใบบอกแจ้งเรื่องลงมายัง[[กรุงเทพฯ]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้[[พระยากลาโหมราชเสนา]] คุมกำลังมาคุมครัวเขมรของพระยาเดโชมาตั้งอยู่ที่บ้านลงปลา ส่วนครัวของนักปรังให้แยกมาตั้งอยู่ที่เมืองเซลำเภา<ref>ปัจจุบันคือเมือง[[ธาราบริวัตร]] อยู่ในเขต[[จังหวัดสตึงแตรง]] [[ประเทศกัมพูชา]]</ref> "จึ่งมีเขมรแทรกปนอยู่ในแขวง[[เมืองโขง]]แต่นั้นมา"<ref name="พงศาวดารอีสาน">พงศาวดารหัวเมืองมณฑลอีสาน ของ[[หม่อมอมรวงศ์วิจิตร]]</ref>
 
== พระโอรส และพระธิดา ==
[[ไฟล์:กู่เจ้าฝ่ายหน้า.jpg|thumb|กู่เจ้านคร ซึ่งภายในบรรจุอัฐิของเจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช (เจ้าฝ่ายหน้า) ที่[[วัดมหาธาตุ]] [[จังหวัดยโสธร]]]]
ในสำเนาฉบับพงศาวดารอีสานยังอธิบายไว้ว่า เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช มีพระโอรสและพระธิดา ทั้งหมด 56 พระองค์ มีปรากฏรายพระนามดังนี้
# [[พระสุนทรราชวงศา (เจ้าคำสิงห์)|เจ้าคำสิงห์]] (ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นที่พระสุนทรราชวงศา เจ้าผู้ครองเมืองยศสุนทรองค์แรก)
# เจ้าบุตร หรือ[[พระสุนทรราชวงศาฯ (เจ้าฝ่ายบุต)|เจ้าฝ่ายบุต]] (ต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นที่พระสุนทรราชวงศาฯ เจ้าผู้ครองเมืองยศสุนทร องค์ที่ 3)
# เจ้าสุดตา
# เจ้านางแดง
# เจ้านางไทย
เส้น 39 ⟶ 43:
 
== พิราลัย ==
เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชถึงแก่พิราลัย เมื่อ[[วันอังคาร]] ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 10 [[ปีมะแม]]ตรีศก [[จุลศักราช]] 1173 (ตรงกับวันที่ 20 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2354) สิริรวมพระชนม์ 85 ปี ครองนครจำปาศักดิ์ ได้ 1920 ปี [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้[[พระยากลาโหมราชเสนา]] เป็นข้าหลวงแทนพระองค์ นำหีบศิลาหน้าเพลิงมาพระราชทานเพลิงศพเจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษ์ขัติยราชยวงษขัติยราช อันเป็นเกียรติยศสูงสุดที่พระมหากษัตริย์สยามพระราชทานแก่เจ้าผู้ครองนครประเทศราช

และจัดการราชการบ้านเมืองนครจำปาศักดิ์ เมื่อทำการปลงพระศพของเจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชเสร็จแล้ว พระยากลาโหมราชเสนาพร้อมด้วยแสนท้าวพระยาในเมือง จึงได้พร้อมใจกันก่อเจดีย์บรรจุอัฐิของท่านไว้ที่วัดเหนือในเมืองเก่าคันเกิง (ปัจจุบันคือวัดหอพระแก้ว) ในประชาชนชาวเมืองเก่าคันเกิง เรียกกันทั่วไปในเวลานั้นว่า '''"ธาตุหลวงเฒ่า"''' <ref name="พงศาวดารอีสาน" /> ปัจจุบันไม่มีใครรู้จักและเรียกเช่นนี้พระยากลาโหมราชเสนาก็ได้อยู่จัดราชการบ้านเมืองนครจำปาศักดิ์ต่อไปอีก
 
อนึ่งพ.ศ. 2355 ภายหลังเสร็จจากการพระราชทานเพลิงศพเสร็จลง และการจัดการจัดราชการบ้านเมืองในนครจำปาศักดิ์แล้ว พระยากลาโหมราชเสนาจึงได้พบอัญเชิญพระแก้วขาว ซึ่งมีการค้นพบมาตั้งแต่สมัย[[เจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร]] เป็นเจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์องค์แรก อัญเชิญลงมายัง[[กรุงเทพมหานคร]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการสมโภชพระแก้วขาวองค์นี้ จากนั้นจึงโปรดเกล้าฯ ให้ประชุมช่างเพื่อทำการปฏิสังขรณ์พระแก้วขาว และพระราชทานนามว่า "[[พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัย]]"<ref name="พงศาวดารอีสาน" />
 
== พระนามตามบันทึกเอกสารทางประวัติศาสตร์ ==