ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โฮโมโฟเบีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พวก is too mean
ย้อนการแก้ไขที่ 9567752 สร้างโดย 2405:9800:B970:3E03:759D:98AC:8BE1:5FF7 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Aberdeen, Scotland (UK) (27057921420).jpg|thumb|การฉายไฟสีรุ้งที่อาคารในจตุรัสกลางเมือง[[อะเบอร์ดีน]]ใน[[สก็อตแลนด์]]เนื่องในวันต่อต้านโฮโมโฟเบียโลก (IDAHOT)]]
'''โฮโมโฟเบีย''' หรือ '''อาการเกลียดกลัวคนที่พวกรักเพศเดียวกัน''' ({{lang-en|'''Homophobia'''}}) คือการกลัวอย่างไม่มีเหตุผล [[การเกลียดชัง]] หรือการเลือกปฏิบัติ ต่อพวก[[รักร่วมเพศ]]หรือพฤติกรรมรักเพศเดียวกัน<ref name=Webster>{{cite web|url=http://www.webster.com/dictionary/homophobia|title=webster.com|accessdate=2008-01-29|date=2008|archive-date=2012-12-05|archive-url=https://archive.today/20121205072838/http://www.webster.com/dictionary/homophobia|url-status=dead}}</ref> และยังอธิบายถึงความกลัวหรือดูถูก[[เลสเบียน]]และ[[เกย์]] รวมถึงพฤติกรรมต่าง ๆ ที่มาจากความรู้สึก<ref name=dictionary.com>{{cite web|url=http://dictionary.reference.com/browse/homophobia homophobia|title=Dictonary.com|accessdate=2008-01-29|date=2008|publisher=Dictonary.com}}</ref> ในบางแห่งจำกัดความโดยไม่มีคำว่า "อย่างไม่มีเหตุผล" และดูมุ่งเน้นไปที่พฤติกรรมมากกว่าแรงกระตุ้น<ref>{{Cite web |url=http://www.bartleby.com/61/90/H0259000.html |title=The American Heritage Dictionary of the English Language: Fourth Edition. |access-date=2009-05-27 |archive-date=2009-03-04 |archive-url=https://web.archive.org/web/20090304014603/http://www.bartleby.com/61/90/H0259000.html |url-status=dead }}</ref> คำว่า โฮโมโฟเบีย มีใช้ครั้งแรกในยุคสมัยใหม่ในปี 1971 ถึงแม้ว่าคำนี้จะเกิดขึ้นในช่วงกลางทศวรรษ 1950 ก็ตาม เป็นคำที่แสดงความเห็นกับพวกแสดงความเหยียดหยามกับกลุ่มที่มีทัศนะคติต่างกัน และกับนักวิจัยหลายคนเสนอความหมายของคำนี้อีกอย่างว่าเป็นการอธิบายถึง ความลำเอียงและการเลือกปฏิบัติ ต่อเกย์และเลสเบียน
 
โดยทั่วไปแล้วโฮโมโฟเบียจะพบในกลุ่มคน[[รักต่างเพศ]] โดยนักจิตวิทยาบางส่วนเชื่อมโยงโฮโมโฟเบียกับความกลัวที่จะ[[รักเพศเดียวกัน]] ซึ่งอาจมีผลมาจากแบบตายตัวทางเพศในครอบครัว ซึ่งมี[[ผู้ชาย]]เป็นใหญ่และ[[ผู้หญิง]]อุทิศตัวต่อสามีและลูก เป็นความเชื่อฝังใจต่อบทบาทที่ถูกต้องเหมาะสมตามครรลองทางธรรมชาติ และผู้ที่ยึดติดดังกล่าวอาจรู้สึกถึงการถูกคุกคามของการมีอยู่ของ[[เกย์]]และ[[เลสเบียน]] เพราะเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มทำให้บทบาททางเพศที่พวกเขาคิดว่าถูกต้องตามธรรมชาติเกิดความสับสนและอาจกลัว กลุ่มโฮโมโฟเบียรวมถึงกลุ่มที่ยึดถือบทบาททางเพศแบบตายตัวนี้ และกลุ่มคนที่เคร่งครัดตามคัมภีร์ทางศาสนา นอกจากนี้การเป็นโฮโมโฟเบียของชายรักต่างเพศบางคนก็อาจเกิดจากความกลัวหรือหวาดระแวงว่าจะถูกผู้ชายด้วยกัน[[การล่วงละเมิดทางเพศ|ล่วงละเมิดทางเพศ]]<ref name="diversity">Spencer A. Rathus, Jeffrey S. Nevid, Lois Fichner-Rathus. (2000). '''Human sexuality in a world of diversity'''. Boston: Allyn and Bacon. (p.279-280)</ref> เช่นลวนลาม หรือ[[ข่มขืน]]ทางทวารหนัก เป็นต้น ในบางกรณีการที่ผู้ชายแท้มีความกลัวว่าจะถูกล้อเลียนหรือถูกสังคมตัดสินว่าเป็นเกย์นั้นก็อาจถูกจัดว่าเป็นโฮโมโฟเบียอย่างหนึ่ง<ref>Epstein, D. (1995). "Keeping them in their place: Hetero/sexist harassment, gender and the enforcement of heterosexuality." In J. Holland&L. Adkins (Eds.), ''Sex, sensibility and the gendered body''. London: Macmillan.</ref><ref name=Herek1998b>{{cite book|last=Herek |first=Gregory M |author2=Society for the Psychological Study of Lesbian and Gay Issues |year=1998 |title=Stigma and sexual orientation : understanding prejudice against lesbians, gay men, and bisexuals |publisher=Sage Publications |series=Psychological perspectives on lesbian and gay issues, v. 4 |isbn=978-0-8039-5385-7 |url=http://www.worldcat.org/oclc/37721264}}</ref><ref>Kimmel, M. (1994). Masculinity as homophobia: Fear, shame and silence in the construction of [[gender identity]]. In H. Brod & M. Kaufman (Eds.), ''Theorizing masculinities'' (pp. 119–141). Newbury Park, CA: Sage</ref>