ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดัชนีมวลกาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tzmeteora (คุย | ส่วนร่วม)
→‎การประเมินค่าดัชนีมวลกาย: แ้ก้ไขคำพูดให้ชัดเจนมากขึ้น
Samrotri (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
* อ้วน: มากกว่าหรือเท่ากับ 30 แต่น้อยกว่า 40 (&ge;30 แต่ <40)
* อันตรายมาก: มากกว่าหรือเท่ากับ 40 (&ge;40)
หมายเหตุ:
 
1.ค่าปกตินี้ได้จากการวิจัยเชิงพรรณา หรือ เชิงบรรยาย โดยศึกษาหาข้อมูลในคนป่วย โรคต่างๆ ว่า มีดัชนีมวลกาย อยู่ระหว่างค่าใด แล้ว นำมาหาว่าดัชนีมวลกายในช่วงเท่าใดที่จะไม่พบว่า มีคนป่วย ดังนั้น ถ้าไม่อยากป่วยให้พยายามรักษาดัชนีมวลกายให้อยู่ในช่วงปกติ
แต่การประเมินค่าดัชนีมวลกายนั้น จะต้องคำนึงถึงตัวแปรต่าง ๆ ด้วย ดังเช่นมวลกล้ามเนื้อ มวลไขมัน เพราะฉะนั้นดัชนีมวลร่างกายข้างต้นจะไม่สามารถนำไปใช้ได้กับผู้ที่มีมวลกล้ามเนื้อมาก เช่น นักกีฬา นักเพาะกาย ที่อาจจะมีน้ำหนักมากเกิน 100 กิโลกรัมแต่ไม่จัดอยู่ในขั้นอ้วนหรืออันตรายมาก
2.ค่าสำหรับชาวเอเซีย พบว่าประเทศเราอากาศร้อน ความอ้วนจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ดังนั้น ดัชนีมวลกายจะน้อยกว่าค่าข้างต้นซึ่งเป็นค่าของประเทศเมืองหนาว จะต้องมีไขมันเพื่อปกป้องร่างกายจากความหนาว ในชาวเอเซีย จึงถือค่าประมาณ 18-21 เป็นค่าที่เหมาะสม
3.แต่การประเมินค่าดัชนีมวลกายนั้น จะต้องคำนึงถึงตัวแปรต่าง ๆ ด้วย ดังเช่นมวลกล้ามเนื้อ มวลไขมัน เพราะฉะนั้นดัชนีมวลร่างกายข้างต้นจะไม่สามารถนำไปใช้ได้กับผู้ที่มีมวลกล้ามเนื้อมาก เช่น นักกีฬา นักเพาะกาย ที่อาจจะมีน้ำหนักมากเกิน 100 กิโลกรัมแต่ไม่จัดอยู่ในขั้นอ้วนหรืออันตรายมาก
 
==ลิงก์ภายนอก==