ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตะโดธรรมราชาที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 2:
| type = กษัตริย์
| name = พระเจ้าตะโดธรรมราชา<br/> {{my|သတိုးဓမ္မရာဇာ}} <br> <small>ตะโดตู</small>
|succession = พระเจ้าแปร (เอกราช)
|reign = 30 เมษายน พ.ศ. 2093 – 30 สิงหาคม พ.ศ. 2094 (กษัตริย์) <br> 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2085 – 30 เมษายน พ.ศ. 2093 (อุปราช)
|predecessor = [[พระเจ้ามังฆ้องแห่งแปร|มังฆ้อง]]
|successor = [[ตะโดธรรมราชาที่ 32]]
| father = เจ้าเมืองเจ๊ตโยบิน
| issue = [[พระนางขิ่นเมี๊ยะ]]
|succession1 = พระเจ้าแปร (ประเทศราช)
|reign1 = 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2085 - 30 เมษายน พ.ศ. 2093
|predecessor1 = สิ้นสุดราชวงศ์โมญี่น
|successor1 = [[ตะโดธรรมราชาที่ 2]]
| birth_date = ราว พ.ศ. 2033
| birth_place = [[ตองอู]]
| death_date = 30 สิงหาคม พ.ศ. 2094 (61 พรรษา)<br>วันอาทิตย์ แรม 1 ค่ำ เดือน [[Thadingyut]] 913 [[Burmese calendar|ME]]<ref group=note>พงศาวดาร (Hmannan Vol. 2 2003: 268) บันทึกว่า พระองค์ถูกสำเร็จโทษในแรม 15 ค่ำ เดือน Tawthalin 913 ME (29 สิงหาคม ค.ศ. 1551) เวลาตี 2 เนื่องจากว่าเวลา 2:00 น. ในปฏิทินพม่าหมายถึงเที่ยงคืน ทำให้บันทึกว่าพระองค์ถูกสำเร็จโทษในวันถัดมา</ref>
| death_date = 30 สิงหาคม พ.ศ. 2094 (61 พรรษา)
| death_place = [[แปร]]
| religion = [[พุทธเถรวาท]]
เส้น 21 ⟶ 17:
{{มีอักษรพม่า}}
 
'''พระเจ้าตะโดธรรมราชาที่ 1''' ({{lang-my|သတိုးဓမ္မရာဇာ}}, {{IPA-my|ðədó dəma̰ jàzà|pron}}; ประมาณคริสต์ทศวรรษ 1490s–1490–1551) มีพระนามเดิมว่า '''นิต่า''' ทรงเริ่มเข้ารับราชการในราชสำนักตองอูตั้งแต่ พ.ศ. 2059 แล้วได้รับสถาปนาเป็นพระเจ้าแปรในฐานะกษัตริย์เมืองออกของ[[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]]ผู้เป็นพระชามาดา<ref>''พระราชพงศาวดารพม่า'', หน้า 123</ref>ระหว่าง พ.ศ. 2085 ถึง 2093 แต่ภายหลังพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้สวรรคตใน พ.ศ. 2093 ก็ประกาศตนเป็นเอกราช<ref>''พระราชพงศาวดารพม่า'', หน้า 136</ref>ระหว่าง พ.ศ. 2093 ถึง 2094 ทรงพระนามว่า '''ตะโดตู''' ({{my|သတိုးသူ}}, {{IPA-my|ðədó θù|}}) และประกาศไม่ยอมสวามิภักดิ์ต่อ[[พระเจ้าบุเรงนอง]]ผู้ที่ขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ทำให้เกิดการสู้รบกันขึ้น หลังการสู้รบยาวนาน 6 เดือนกองทัพของพระเจ้าบุเรงนองก็โจมตีเมืองแปรแตกใน พ.ศ. 2094 และพระเจ้าตะโดธรรมราชาที่ 1 ก็ถูกสำเร็จโทษตามพระราชโองการของพระเจ้าบุเรงนอง
 
ในพระราชพงศาวดารของไทยพระเจ้าตะโดธรรมราชาที่ 1 หรือพระเจ้าแปรมีบทบาทสำคัญในฐานะแม่ทัพผู้ฟัน[[สมเด็จพระสุริโยทัย]]สิ้นพระชนม์ระหว่างกระทำยุทธหัตถีใน[[สงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้]]<ref name=geh-159>Harvey 1925: 159</ref>
เส้น 43 ⟶ 39:
 
เมื่อบุเรงนอง เสร็จศึกจากเมืองทะละ ก็กลับมาปราบกบฏ กู้ราชบัลลังก์ ขึ้นเถลิงราชย์เป็นกษัตริย์ หลังทรงเสด็จไปปราบ[[มังฆ้องที่ 2 แห่งตองอู|พระเจ้ามังฆ้อง (สีหตู)]] ซึ่งเป็นพระอนุชาแล้ว ก็ทรงยกทัพไปปราบเมืองแปร ทัพของ[[พระเจ้าบุเรงนอง]] ไพร่พล 9,000 นาย ม้า 300 ตัว ช้าง 25 เชือก เข้าปิดล้อมเมืองแปร แต่ทัพเมืองแปรนั้นมีปืนใหญ่และปืนคาบศิลาที่ทรงอานุภาพยากแก่การเข้าตี สุดท้ายในวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2094 ก็ทรงถอยทัพออกจากแปร<ref name=hy-2-265-266>Hmannan Vol. 2 2003: 265–266</ref><ref name=my-2-202>Kala Vol. 2 2006: 202</ref> แต่ในไม่ช้า พระองค์ก็ทรงนำทัพใหญ่กว่าครั้งก่อน เข้าปิดล้อมเมืองแปรอีกครั้ง พระเจ้าบุเรงนองทรงระดมไพร่พลเข้าโจมตีเมืองทั้งกลางวันกลางคืนมิได้ขาด วันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2094 เวลาเที่ยงคืน การป้องกันภายในเมืองแปรระส่ำระสาย พระเจ้าบุเรงนองทรงบัญชาให้ [[มังฆ้องที่ 2 แห่งตองอู|พระเจ้ามังฆ้อง]] ทรงพระคชาธารเข้าชนประตูเมืองแปรจนประตูเมืองแตก<ref name=hy-2-267-268>Hmannan Vol. 2 2003: 267–268</ref> ทัพหงสาวดีจึงเข้าเมืองแปรได้ พระเจ้าตะโดตู จะทรงเสด็จหนีไปยะไข่ แต่ก็ถูกกุมตัวไว้ได้ พระเจ้าบุเรงนอง จึงสั่งสำเร็จโทษพระเจ้าตะโดตู แม้จะทรงมีพระยศเสมือนพระปิตุลาก็ตามที สิริพระชนมายุ 61 พรรษา<ref name=sll-262-263>Sein Lwin Lay 2006: 262–263</ref> แล้วทรงราชาภิเษก นันทยอทา พระอนุชาของพระองค์ เป็นพระเจ้าแปรองค์ใหม่ คือ [[ตะโดธรรมราชาที่ 2]]<ref name=hy-2-267-268/>
 
==หมายเหตุ==
{{Reflist|group=note}}
 
==อ้างอิง==
เส้น 52 ⟶ 51:
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์| ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารพม่า | จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2550| ISBN = 978-974-7088-10-6| จำนวนหน้า = 1136| หน้า = 139-140}}
* {{cite book | last=Harvey| first = G. E.| title = History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824 | publisher=Frank Cass & Co. Ltd | year = 1925 | location = London}}
* {{cite book | last=[[Kala | author-link=U Kala|Kala]] | first=U | title=[[Maha Yazawin]] | publisher=Ya-Pyei Publishing | location=Yangon | year=1724 | edition=2006, 4th printing | language=myBurmese | volume=1–3}}
* {{cite book | last=[[Phayre | author-link=Arthur Purves Phayre|Phayre]] | first=Lt. Gen. Sir Arthur P. | title=History of Burma | year=1883 | edition=1967 | publisher=Susil Gupta | location=London}}
* {{cite book | author=[[Royal Historical Commission of Burma]] | author-link=Royal Historical Commission of Burma | title=[[Hmannan Yazawin]] | volume=1–3 | year=1832 | location=Yangon | language=myBurmese | edition=2003 | publisher=Ministry of Information, Myanmar}}
* {{cite book | last=Sein Lwin Lay | first=Kahtika U | title=Min Taya Shwe Hti and Bayinnaung: Ketumadi Taungoo Yazawin | language=myBurmese | location=Yangon | publisher=Yan Aung Sarpay | year=1968 | edition=2006, 2nd printing}}
{{จบอ้างอิง}}