ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การชัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
| deaths =
}}
'''อาการชัก''' ({{lang-en|seizure, epileptic seizure}}) คือภาวะที่ผู้ป่วยมีอาการบางอย่างอยู่เป็นระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งเกิดจากการทำงานมากผิดปกติและไม่สัมพันธ์กันของ[[เซลล์ประสาท]]ใน[[สมอง]]<ref name=Fish2014>{{cite journal |last1=Fisher |first1=RS |last2=Acevedo |first2=C |last3=Arzimanoglou |first3=A |last4=Bogacz |first4=A |last5=Cross |first5=JH |last6=Elger |first6=CE |last7=Engel J |first7=Jr |last8=Forsgren |first8=L |last9=French |first9=JA |last10=Glynn |first10=M |last11=Hesdorffer |first11=DC |last12=Lee |first12=BI |last13=Mathern |first13=GW |last14=Moshé |first14=SL |last15=Perucca |first15=E |last16=Scheffer |first16=IE |last17=Tomson |first17=T |last18=Watanabe |first18=M |last19=Wiebe |first19=S |title=ILAE official report: a practical clinical definition of epilepsy. |journal=Epilepsia |date=April 2014 |volume=55 |issue=4 |pages=475–82 |doi=10.1111/epi.12550 |pmid=24730690|s2cid=35958237 |url=https://escholarship.org/uc/item/7xq1j7zf |doi-access=free }}</ref> อาการภายนอกอาจมีได้หลากหลาย ตั้งแต่การเกร็งกระตุกทั่วร่างกายพร้อมกับ[[หมดสติ]] ([[Generalized tonic–clonic seizure|การชักแบบเกร็งกระตุกทั้งตัว]]), การเคลื่อนไหวผิดปกติเพียงบางส่วนของร่างกายโดยอาจไม่มีการเปลี่ยนแปลงของระดับการรู้ตัว หรือมีในบางระดับ ([[Focal seizure|การชักแบบเฉพาะที่]]), ไปจนถึงการหมดสติไปชั่วครู่โดยแทบไม่มีอาการปรากฎให้เห็น ([[Absence seizure|การชักแบบเหม่อลอย]])<ref name=Mis2017>{{cite book|last1=Misulis|first1=Karl E.|last2=Murray|first2=E. Lee|title=Essentials of Hospital Neurology|date=2017|publisher=Oxford University Press|isbn=9780190259433|page=Chapter 19|url=https://books.google.com/books?id=2v2oDgAAQBAJ&pg=PT253|language=en}}</ref> โดยส่วนใหญ่แล้วผู้ป่วยจะมีอาการเหล่านี้อยู่เพียงช่วงสั้นๆ ไม่เกิน 2 นาที และจะค่อยๆ ฟื้นกลับเป็นปกติโดยใช้เวลาระยะหนึ่ง<ref name=Fer2019/><ref name=NIH2018/> ระหว่างที่มีอาการชักอาจมี[[Fecal incontinence|อุจจาระราด]]หรือ[[Urinary incontinence|ปัสสาวะราด]]ได้<ref name=Mis2017/>
'''ชัก''' ({{lang-en|seizure}}) มีนิยามทางการแพทย์หมายถึงภาวะซึ่งมีภาวะกระตุ้นของเซลล์ประสาทในสมองอย่างมากผิดปกติ (abnormal excessive or synchronous neuronal activity in the brain)<ref name="Fisher2005">{{cite journal
| author = Fisher R, van Emde Boas W, Blume W, Elger C, Genton P, Lee P, Engel J
| title = Epileptic seizures and epilepsy: definitions proposed by the International League Against Epilepsy (ILAE) and the International Bureau for Epilepsy (IBE)
| journal = Epilepsia
| volume = 46
| issue = 4
| pages = 470–2
| year = 2005
| pmid = 15816939
| url = http://www.blackwell-synergy.com/doi/full/10.1111/j.0013-9580.2005.66104.x
| doi = 10.1111/j.0013-9580.2005.66104.x
}}{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> ซึ่งอาจแสดงอาการให้เห็นได้หลายอย่าง ตั้งแต่เป็นการ[[Convulsion|ชักเกร็งกระตุก]]อย่างรุนแรง ไปจนถึงเพียง[[Absence seizure|เหม่อลอยชั่วขณะ]]
 
==อ้างอิง==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/การชัก"