ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9534092 สร้างโดย 2403:6200:8847:6A47:3D7A:B7B8:B22:DC02 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Mydragonfly (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
บรรทัด 94:
}}
 
'''องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ''' (อพวช.หรือ NSM) มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัด [[กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม]] จัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2538 เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อมีหน้าที่รับผิดชอบในการพัฒนาและจัดการพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และศูนย์การเรียนรู้ต่างๆ ประกอบด้วย พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ และ พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า ซึ่งพิพิธภัณฑ์ทั้งหมดตั้งอยู่ ณ เทคโนธานี ถนนเลียบคลองห้า ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี รวมถึง จัตุรัสวิทยาศาสตร์ อพวช. ที่ศูนย์การค้า เดอะสตรีท รัชดา กรุงเทพฯ และ จัตุรัสวิทยาศาสตร์ อพวช. เชียงใหม่ ณ อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร
 
== '''ประวัติความเป็นมา''' ==
 
เมื่อปี [[พ.ศ. 2533]] คณะรัฐมนตรีในครั้งนั้นได้มีมติให้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ขึ้น โดยให้กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมในขณะนั้น ดูแลพัฒนาโครงการและรับผิดชอบงาน ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2534]] ได้รับอนุมัติให้จัดโครงการจัดตั้ง “พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์” เพื่อเฉลิมพระเกียรติ [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ|สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] เนื่องในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ ในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2535 โดยกำหนดกรอบงบประมาณโครงการ 650 ล้านบาทและเริ่มก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ในปี [[พ.ศ. 2537]] จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2538]] คณะรัฐมนตรีมีมติให้จัดตั้ง องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) ขึ้น มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อเป็นหน่วยงานบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ โดยได้มีพระราชกำหนดจัดตั้งองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ (อพวช.) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา [[30 มกราคม]] [[พ.ศ. 2538]] ให้มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม (ในขณะนั้น) ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนเป็นกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
 
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) ดำเนินการพัฒนา “พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์” ซึ่งตั้งอยู่ ณ เทคโนธานี ถนนเลียบคลองห้า ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี จนแล้วเสร็จ  สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  ให้พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะทรงดำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จแทนพระองค์ ทรงเปิดอาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์อย่าง เป็นทางการอาคารที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่นด้วยรูปทรงลูกบาศก์ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ3 พระราชทานชื่ออาคารว่าลูกเชื่อมติดกัน ภายในอาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์มหาราชินี”ประกอบด้วยพื้นที่นิทรรศการ เมื่อ6 วันที่ชั้น 8ในพื้นที่ มิถุนายน10,000 พ.ศ.ตารางเมตร 2543<ref>[http://www.most.go.th/main/index.php/about-us/structural-units/state-enterprise/nsm.htmlมีการจัดแสดงเนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์พื้นฐาน กระทรวงวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน และเทคโนโลยี]</ref>วิทยาศาสตร์ในภูมิปัญญาไทย พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ และได้เปิดให้บริการแก่ประชาชนอย่างเป็นทางการ ในเมื่อวันที่ 98 มิถุนายน พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 อพวช. ได้เปิดให้บริการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน มีพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการประมาณ 3,000 ตารางเมตร จัดแสดงนิทรรศการที่เกี่ยวกับกำเนิดโลกและสิ่งมีชีวิต การจำแนกประเภทสิ่งมีชีวิตต่างๆ รวมถึงมีการเก็บรักษาตัวอย่างทางธรรมชาติวิทยา
 
ปี พ.ศ. 2554 อพวช. ได้มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งที่จัตุรัสวิทยาศาสตร์ มีพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมต่างๆ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม บนพื้นที่ประมาณ 3,000 ตารางเมตร ตั้งอยู่ที่ชั้นทบริเวณชั้น 4-5 อาคาร [[จัตุรัสจามจุรี]] (อาคารศูนย์การค้าของ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]) ซึ่งได้เปิดให้เข้าชมตั้งแต่ [[เดือนมีนาคม]] พ.ศ. 2554 และปัจจุบันได้ปิดให้บริการแล้วเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2562
 
ปี พ.ศ. 2556 อพวช. เปิดให้บริการพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกันเดียวกับ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ภายในอาคารที่มีพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการรวม 9,300 ตารางเมตร เนื้อหาหลักมีการจัดแสดงถึงเนื้อหาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสารและการคำนวณ ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์ และพัฒนาต่อมาเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศหลากหลายรูปแบบในปัจจุบัน
 
ปี พ.ศ. 2562 อพวช. ได้เปิดให้บริการ พิพิธภัณฑ์เพิ่มขึ้นอีก 1พระรามเก้า เป็นพิพิธภัณฑ์แห่งที่ คือ4 ภายในพื้นที่ อพวช.  โดยพิพิธภัณฑ์พระรามเก้า ซึ่งจะเป็นโครงการที่ริเริ่มเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] โดยนำเสนอหลักการคิด วิธีการทรงงาน และกระบวนการค้นหาคำตอบตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่ทรงพระราชทานแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแก้ปัญหาแก่พสกนิกรในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศไทย ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมที่แสดงถึงวิวัฒนาการของโลกและสิ่งมีชีวิตต่างๆ ระบบนิเวศวิทยาของภูมิภาคต่างๆ แสดงถึงและความหลากหลายทางชีวภาพทั้งในภาพรวมของทั้งโลกและของประเทศไทย และมีส่วนจัดแสดงที่นำเสนอหลักการทรงงานของ[[พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชรามเก้า บรมนาถบพิตร]] ที่แสดงให้เห็นถึงการที่ทรงนำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ ให้กับประชาชน โดยมีพิธีเปิดไปให้บริการเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2562
 
ปี พ.ศ. 2564 อพวช. ได้พัฒนาแหล่งเรียนรู้ จัตุรัสวิทยาศาสตร์ อพวช. ขึ้น ณ กรุงเทพมหานคร ในชื่อ “จัตุรัสวิทยาศาสตร์ อพวช. เดอะ สตรีท รัชดา” เป็นพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมต่าง ๆ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ตั้งอยู่ที่ชั้น 5 ศูนย์การค้า เดอะ สตรีท รัชดา ต่อมา อพวช. ได้พัฒนาและเปิดแหล่งเรียนรู้แห่งใหม่ขึ้นที่ จังหวัดเชียงใหม่ ในชื่อ “จัตุรัสวิทยาศาสตร์ อพวช. เชียงใหม่” โดยได้รับความร่วมมือจาก สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) ให้จัดตั้ง“จัตุรัสวิทยาศาสตร์ อพวช. เชียงใหม่” ภายในอุทยานดาราศาสตร์สิรินธร .อำเภอแม่ริม จ.จังหวัดเชียงใหม่  ซึ่งเป็นพื้นที่การเรียนรู้นอกห้องเรียนให้กับเยาวชนและประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือ โดยทั้งสองที่ได้เปิดให้เข้าชมตั้งแต่ เดือนมีนาคม
 
== '''พิพิธภัณฑ์ อพวช.''' ==
 
=== พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์<ref>{{Cite web|last=Thailand|first=Museum|title=พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ อพวช. :: Museum Thailand|url=https://www.museumthailand.com/th/museum/NSM-Science-Museum|website=www.museumthailand.com}}</ref> ===
พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ เป็นอาคารอาคารหลักที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่นด้วยรูปทรงลูกบาศก์ 3 ลูกเชื่อมติดกันมี ภายในอาคารประกอบด้วยพื้นที่นิทรรศการ 6 ชั้น มีพื้นที่โดยจัดแสดงประมาณ 10,000 ตารางเมตร มีการจัดแสดงเป็นเนื้อหาต่างๆ ในแต่ละชั้น เช่น นิทรรศการหมุนเวียนเกี่ยวกับประวัตินักวิทยาศาสตร์ ประวัติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยพื้นฐาน พลังงาน วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน  และวิทยาศาสตร์ในภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทย แต่ละชั้นประกอบด้วยสาระดังนี้
* ชั้นที่ 1 ส่วนต้อนรับ นักวิทยาศาสตร์รุ่นบุกเบิก ห้องอินเทอร์เน็ต การศึกษา และนิทรรศการหมุนเวียน
* ชั้นที่ 2 ประวัติการค้นพบและการประดิษฐทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
* ชั้นที่ 3 วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน อุโมงค์พลังงาน และโรงภาพยนตร์
* ชั้นที่ 4 โลกของเรา สิ่งแวดล้อม สิ่งก่อสร้างและโครงสร้าง เกษตรกรรม
* ชั้นที่ 5 ร่างกายของเรา การคมนาคม คุณภาพชีวิต วิทยาศาสตร์ในบ้าน และอนาคต
* ชั้นที่ 6 เทคโนโลยีภูมิปัญญาไทย
=== พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา<ref>{{Cite web|last=Thailand|first=Museum|title=พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา อพวช. :: Museum Thailand|url=https://www.museumthailand.com/th/museum/Natural-History-Museum-2|website=www.museumthailand.com}}</ref> ===
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเปิดให้บริการในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการศึกษาวิจัยด้านธรรมชาติวิทยาของประเทศไทยและประเทศใกล้เคียง และยังเป็นศูนย์จัดแสดงนิทรรศการความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งนำเสนอตั้งแต่การกำเนิดโลก สู่กำเนิดสรรพสิ่งและสิ่งมีชีวิต ที่ล้วนผ่านกระบวนการวิวัฒนาการมานานและยังคงดำเนินเช่นนี้ต่อไป เพื่อดำรงไว้ซึ่งความหลากหลาย พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา เป็นอาคาร 2 ชั้น ขนาดพื้นที่ประมาณ 3,000 ตารางเมตร จัดแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่
 
'''ชั้นที่ 1''' นักวิทยาศาสตร์รุ่นบุกเบิก และกิจกรรมเสริมศึกษา ได้แก่  Enjoy Maker Space, Engineering Design, ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์, การแสดงทางวิทยาศาสตร์ และนิทรรศการหมุนเวียน
* ส่วนสำนักงาน ประกอบด้วย ห้องทำงาน ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด ห้องควบคุม และอื่นๆ พื้นที่รวม 236 ตารางเมตร
 
* '''ชั้นที่ 2''' ประวัติการค้นพบและการประดิษฐทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
* ส่วนแสดงนิทรรศการ ประกอบด้วยส่วนแสดงนิทรรศการถาวร 1,000 ตารางเมตร ส่วนแสดงนิทรรศการหมุนเวียน และห้องแสดงนิทรรศการ น.พ. บุญส่งเลขะกุล พื้นที่ 574 ตารางเมตร พื้นที่รวมจัดแสดง 1,574 ตารางเมตร
 
* '''ชั้นที่ 3''' วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน อุโมงค์พลังงาน และ โรงภาพยนตร์พลังงาน 4 มิติ
การจัดแสดงนิทรรศการ ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงหลัก 4 ส่วน  ได้แก่
 
'''ชั้นที่ 4''' โลกของเรา ธรณีวิทยา ภูมิศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เกษตรแห่งความสุข และ สิ่งก่อสร้างและโครงสร้าง
'''ส่วนที่ 1'''  การกำเนิดโลก
 
* '''ชั้นที่ 5''' ร่างกายของเรา การคมนาคม คุณภาพชีวิต วิทยาศาสตร์ในบ้านวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ และอนาคตนาโนเทคโนโลยี
 
* '''ชั้นที่ 6''' เทคโนโลยีภูมิปัญญาไทย
 
=== พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา<ref>{{Cite web|last=Thailand|first=Museum|title=พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา อพวช. :: Museum Thailand|url=https://www.museumthailand.com/th/museum/Natural-History-Museum-2|website=www.museumthailand.com}}</ref> ===
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเปิดให้บริการในปี พ.ศ. ๒๕๔๖2546 เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการศึกษาวิจัยด้านธรรมชาติวิทยาและวัสดุอุเทศน์ของประเทศไทยและประเทศใกล้เคียง และยังเป็นศูนย์จัดแสดงนิทรรศการความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งนำเสนอตั้งแต่การกำเนิดโลก สู่กำเนิดสรรพสิ่งและสิ่งมีชีวิต ที่ล้วนผ่านกระบวนการวิวัฒนาการมานานและยังคงดำเนินเช่นนี้ต่อไปประกอบด้วยส่วนแสดงนิทรรศการถาวร เพื่อดำรงไว้ซึ่งความหลากหลาย1,000 ตารางเมตร ส่วนแสดงนิทรรศการหมุนเวียน และห้องแสดงนิทรรศการนายแพทย์บุญส่ง เลขะกุลพร้อมด้วยตัวอย่างเขาสัตว์ที่ท่านได้มอบให้กับพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา เป็นอาคาร 2 ชั้น ขนาดพื้นที่ประมาณ 3,000400 ตารางเมตร จัดแบ่งพื้นที่ออกเป็นรวมจัดแสดง 31,400 ส่วน ได้แก่ตารางเมตร
 
การจัดแสดงนิทรรศการ ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงหลัก 4 ส่วน   ได้แก่
 
'''ส่วนที่ 1'''  การกำเนิดโลก
 
'''ส่วนที่ 2''' การกำเนิดสิ่งมีชีวิต
เส้น 139 ⟶ 142:
'''ส่วนที่ 4''' ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
*พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ยังเป็นคลังเก็บวัสดุวัตถุตัวอย่าง ประกอบด้วยคลังเก็บวัสดุวัตถุตัวอย่างแห้ง และคลังเก็บวัสดุวัตถุตัวอย่างเปียก พื้นที่ 1,200 ตารางเมตร วัสดุวัตถุตัวอย่างเริ่มต้นจากการบริจาคตัวอย่างนกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจากครอบครัว นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล และตัวอย่างปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ต่อมาจึงได้เก็บตัวอย่างพืชและสัตว์ทุกชนิดต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน
 
=== พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ<ref>{{Cite web|last=Thailand|first=Museum|title=พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ อพวช. :: Museum Thailand|url=https://www.museumthailand.com/th/museum/Information-Technology-Museum-2|website=www.museumthailand.com}}</ref> ===
พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศเปิดให้บริการในปีพ.ศ. ๒๕๕๕ เพื่อให้บริการจัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับความรู้ และให้เห็นถึงประโยชน์ และความสำคัญของเทคโนโลยีการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการดำรงชีวิตประจำวันและ เพื่อเตรียมคนไทยสู่สังคมดิจิทัล สร้างความตระหนักรู้เท่าทันเทคโนโลยีซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการถาวรที่เล่าเรื่องราววิวัฒนาการของเทคโนโลยีการสือสารสื่อสารนับตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนถึงยุคปัจจุบัน  และเบื้องหลังวิวัฒนาการทั้งหมดคือ ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์นั่นเอง  ซึ่งทั้งหมดนี้ถูกผ่านการนำเสนอด้วยเทคนิค แสง สี เสียง อันที่ทันสมัย ประกอบด้วยชิ้นงาน เครื่องเล่นทางวิทยาศาสตร์  สื่อประสมเชิงตอบโต้ปฏิสัมพันธ์ และกิจกรรมเสริมด้วยกิจกรรมการเรียนรู้หลายประเภท มากมาย เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ไปกับการเรียนรู้ ภายในพิพิธภัณฑ์ การจัดแสดงนิทรรศการถาวร ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงหลัก 6 ส่วน   ได้แก่
 
'''ส่วนที่ 1'''  ประตูสู่วิวัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศ
เส้น 157 ⟶ 160:
 
=== พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า<ref>{{Cite web|last=Thailand|first=Museum|title=พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า อพวช. :: Museum Thailand|url=https://www.museumthailand.com/th/museum/Rama9-Museum|website=www.museumthailand.com}}</ref> ===
พิพิธภัณฑ์พระรามเก้าเป็นโครงการที่ริเริ่มเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา
เนื่องในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 อพวช. ได้รับความเห็นชอบให้ “โครงการพิพิธภัณฑ์พระรามเก้า” เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อแสดงให้เห็นหลักการคิด วิธีการทรงงานและกระบวนการค้นหาคำตอบ ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่ทรงนำไปแก้ปัญหาหรือพระราชทานแก่พสกนิกรในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักร ตลอดจนเป็นแบบอย่างแก่ผู้สนใจชาวต่างประเทศ และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านความเข้าใจในความสำคัญและปัญหาของระบบนิเวศ การบริหารจัดการทรัพยากรดิน น้ำ ป่า เพื่อให้มนุษย์อยู่ร่วมกับระบบนิเวศธรรมชาติอย่างยั่งยืน
 
พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า จึงเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของประชาชนชาวไทยอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง ในการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนัก ในบทบาทความสัมพันธ์ของระบบนิเวศที่สำคัญของโลกและของประเทศไทย อันจะนำไปสู่การมีจิตสำนึกในการรักษา อนุรักษ์ระบบนิเวศ และเตรียมรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างรู้เท่าทัน ตามแนวคิดและวิธีการทรงงานต้นแบบจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
 
การจัดแสดงนิทรรศการ ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงหลัก 6 ส่วน  ได้แก่
 
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โดยนำเสนอหลักการคิด วิธีการทรงงาน และกระบวนการค้นหาคำตอบตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่ทรงพระราชทานแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแก้ปัญหาแก่พสกนิกรในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศไทย ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมที่แสดงถึงวิวัฒนาการของโลกและสิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศวิทยาของภูมิภาค และความหลากหลายทางชีวภาพในภาพรวมของโลกและของประเทศไทย
'''ส่วนที่ 1'''  โลกและการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
 
'''พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า''' จึงเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของประชาชนชาวไทยอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง ในการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนัก ในบทบาทความสัมพันธ์ของระบบนิเวศที่สำคัญของโลกและของประเทศไทย อันจะนำไปสู่การมีจิตสำนึกในการรักษา อนุรักษ์ระบบนิเวศ และเตรียมรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างรู้เท่าทัน ตามแนวคิดและวิธีการทรงงานต้นแบบจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
'''ส่วนที่ 2''' ระบบนิเวศและความหลากหลาย
 
การจัดแสดงนิทรรศการ ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงหลัก 63 ส่วน   ได้แก่
'''ส่วนที่ 3''' การจัดการทรัพยากรน้ำ
 
'''ส่วนที่ 41''' การจัดการทรัพยากรดินบ้านของเรา กำเนิดโลกและสิ่งมีชีวิต
 
'''ส่วนที่ 2''' ชีวิตของเรา ชีวนิเวศแบบต่าง ๆ บนโลกนี้
'''ส่วนที่ 5''' หอเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
 
'''ส่วนที่ 3''' ในหลวงของเรา ศาสตร์พระราชาสู่การอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน
'''ส่วนที่ 6''' การจัดการทรัพยากรน้ำในภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก
 
== '''จัตุรัสวิทยาศาสตร์ อพวช.''' ==
 
=== '''จัตุรัสวิทยาศาสตร์ อพวช. เดอะสตรีท รัชดา''' ===
แหล่งเรียนรู้แห่งใจกลางกรุงเทพฯกรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่สำหรับส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันภายในครอบครัว เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ซึ่งประกอบด้วยนิทรรศการ อย่างนิทรรศการสวนปริศนา” LOGICAL PARK และกิจกรรมเสริมศึกษา ดังนี้
 
1. กิจกรรม BLUE BOX IMAGINARIUM
เส้น 193 ⟶ 192:
จัตุรัสวิทยาศาสตร์ อพวช. เชียงใหม่ ณ อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร เชียงใหม่ แหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มุ่งเน้นการสร้างเสริมประสบการณ์และแรงบันดาลใจให้แก่เด็กและเยาวชน ด้านอาชีพวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่น่าสนใจในอนาคต ผ่านนิทรรศการสื่อสัมผัส และกิจกรรมที่สนุกสนาน เข้าใจง่าย ได้รับความรู้และแรงบันดาลใจไปพร้อมๆกัน ตอบสนองการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เข้าสู่อาชีพอุตสาหกรรมใหม่เพื่อพัฒนาประเทศ และขยายโอกาสทางการศึกษาให้เยาวชนในภูมิภาค บนพื้นที่กว่า 1,300 ตารางเมตร ประกอบด้วยนิทรรศการ ทั้งหมด 4 ส่วน ดังนี้
 
'''ส่วน 1''' The Career of the Future เปิดโลกอาชีพแห่งอนาคต
 
'''ส่วน 2''' Open The Biomedical World เปิดโลกทางการแพทย์
 
'''ส่วน 3''' Disaster operating Base ฐานปฏิบัติการภัยพิบัติ
 
'''ส่วน 4''' Aviation and Aerospace technology การบินและอวกาศ
 
== '''คาราวานวิทยาศาสตร์ และนิทรรศการเคลื่อนที่''' ==
คาราวานวิทยาศาสตร์ เป็นรูปแบบของพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์เคลื่อนที่ เริ่มขึ้นในปี 2548 โดยร่วมกับหน่วยงานในท้องถิ่นเช่น โรงเรียน มหาวิทยาลัย องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น โดยคาราวานเน้นการนำเสนอความรู้ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย สร้างความสนุกสนานและสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามอัธยาศัย ผ่านชิ้นงานสื่อสัมผัสและกิจกรรมที่หลากหลายของ อพวช.
 
== '''กิจกรรมเสริมศึกษา''' ==