ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะธำรงดุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chuansin (คุย | ส่วนร่วม)
Chuansin (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 4:
คำจำกัดความนี้บ่อยครั้งใช้ในความหมายของภาวะธำรงดุล [[ชีววิทยา|ทางชีววิทยา]] [[สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์]] (Multicellular organism)ต้องการมีภาวะธำรงดุลของ [[สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ|สิ่งแวดล้อม]] ภายในตัวเองเพื่อการมี [[ชีวิต]]อยู่ได้ [[นักสิ่งแวดล้อม]] หลายคนเชื่อว่าหลักการนี้ใช้กับสิ่งแวดล้อมภายนอกได้ด้วย หลายระบบทาง[[สิ่งแวดล้อม]]เอง หรือ ทาง[[ชีววิทยา]] หรือ ทาง[[สังคม]] เป็นระบบที่ต้องการ ''ภาวะธำรงดุล''ทั้งสิ้น ตรงกันข้ามถ้าระบบไม่สามารถรักษาความสมดุลย์ให้กลับคืนมาใหม่หลังจากถูกทำให้เสียสมดุลย์ ระบบทั้งหมดจะต้องหยุดทำงาน ใน[[ระบบที่ซับซ้อน]] (Complex system) เช่นร่างกายมนุษย์ จะต้องมี ภาวะธำรงดุล เพื่อการรักษาสเถียรภาพ และเพื่อความอยู่รอดระบบเหล่านี้ไม่ใช่ใช้ความอดทนเพื่อที่จะอยู่รอด แต่ต้องเป็นการปรับตัวเองและปรับแต่งสภาพแวดล้อมเพื่อให้เหมาะกับตัวเองด้วย
 
=== คุณสมบัติของ''ภาวะธำรงดุล''(Properties of homeostasis)'' ===
ระบบที่อยู่ในภาวะธำรงดุลจะแสดงคุณสมบัติหลายอย่างดังนี้:
*พวกมันจะมี [[สเถียรภาพยิ่งยวด]](ultrastable): ระบบจะมีความสามารถในการทดสอบความผิดเพี้ยนที่ควรจะต้องถูกปรับแต่ง;
*[[องค์กร]]ทั้งหมด ทั้งภายใน โครงสร้าง และหน้าที่ จะช่วยทำให้เกิดการรักษาสภาวะ [[สมดุลย์]]
*พวกมันไม่สามารถคาดเดาได้ (ผลลัพท์ของการกระทำที่เที่ยงตรงบ่อครั้งได้ผลตรงข้ามกับสิ่งที่คาดเดา)
ตังอย่างหลักของภาวะธำรงดุลในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีดังนี้:
**การควบคุมจำนวนน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย นี้รู้จักกันว่าเป็นการควบคุมระบบออสโมซิส (osmoregulation) ซึ่งเกิดขึ้นในไต
**การกำจัดของเสียที่เกิดจากกระบวนการสร้างและสลาย ซึ่งรู้จักกันในชื่อการขับถ่าย อันเกิดขึ้นโดยอวัยวะขับถ่ายเช่นไตและปอด
**การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย นี้เป็นหน้าที่หลักของผิวหนัง