ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาณานิคมอวกาศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bebiezaza (คุย | ส่วนร่วม)
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 12:
ในอดีตได้มีนักฟิสิกส์เชิงทฤษฎีทางด้านจักรวาลชื่อ [[สตีเฟ่น ฮอว์คิง]] ได้กล่าวสนับสนุนเอาไว้ โดยกล่าวไว้ในปี ค.ศ. 2001 ค.ศ. 2006 และในปี ค.ศ. 2011 ไว้ว่าวิธีที่จะรักษาเผ่าพันธุ์มนุษย์ไว้ได้คือการสร้างโคโลนี โดยมนุษย์อาจสูญพันธ์ได้ในอีก 1,000 ข้างหน้า ดังนั้นจึงต้องเร่งสร้างโคโลนีโดยเร็วเพื่อรักษาเผ่าพันธุ์มนุษย์เอาไว้<ref name="stephen"/> และมีเนื้อหาสำคัญที่กล่าวไว้ใน ค.ศ. 2006 ด้วยว่าเราอาจต้องสูญเสียเผ่าพันธุ์มนุษย์ไปในอีก 200 ปีข้างหน้านี้หากไม่สร้างโคโลนี<ref>"Mankind must colonize other planets to survive, says Hawking". Daily Mail(London). 2006-12-01. Retrieved March 11, 2013</ref>
 
Louis J. Halle ได้กล่าวไว้ในนิตยสาร Foreign Affairs ในฤดูร้อน ค.ศ. 1980 ว่าอาจเกิด[[สงครามนิวเคลียร์]]ขึ้น ดังนั้นการสร้างโคโลนีจึงนับเป็นความคิดที่ดีในการรักษาเผ่าพันธุ์มนุษย์เอาไว้<ref>{{Cite journal| url=http://www.foreignaffairs.org/19800601faessay8146/louis-j-halle/a-hopeful-future-for-mankind.html| title=A Hopeful Future for Mankind| first=Louis J.| last= Halle| journal=Foreign Affairs| date=Summer 1980| doi=10.2307/20040585| volume=58| issue=5| pages=1129| access-date=2014-04-04| archive-date=2008-12-18| archive-url=https://web.archive.org/web/20081218082731/http://www.foreignaffairs.org/19800601faessay8146/louis-j-halle/a-hopeful-future-for-mankind.html| url-status=dead}}</ref> Paul Davies นักฟิสิกส์ท่านหนึ่งได้เสนอมุมมองที่น่าสนใจเกี่ยวกับการตั้งรกรากในอวกาศไว้ว่า หากโลกเผชิญกับ[[ภัยพิบัติ]]ครั้งใหญ่จริง โคโลนีจะเป็นทางเลือกที่ดีในการรักษาเผ่าพันธุ์ของมนุษย์เอาไว้ เพราะเมื่อเวลานั้นมาถึงมนุษย์จะได้มีโอกาสกลับไปโลกเพื่อฟื้นฟู[[อารยธรรม]]มนุษย์และ[[สิ่งแวดล้อม]]บนโลกหลังจากภัยพิบัติผ่านพ้นไป นอกจากนี้นักประพันธุ์และนักเขียนชื่อ William E. Burrows รวมถึงนักชีววิทยาชื่อ Robert Shapiro ได้กล่าวสนับสนุนให้ภาคเอกชนร่วมโครงการรักษาเผ่าพันธ์มนุษย์โดยการตั้งรกรากในอวกาศอีกด้วย<ref>
{{cite news | url = http://www.nytimes.com/2006/08/01/science/01arc.html | title = Life After Earth: Imagining Survival Beyond This Terra Firma | publisher = New York Times | first=Richard | last=Morgan | date=2006-08-01 | accessdate=2010-05-23}}</ref>
 
บรรทัด 28:
*สังคมและกฎระเบียบบนโคโลนี เพราะรูปแบบถิ่นที่อยู่อาศัยบนโคโลนีนั้นค่อนข้างแตกต่างจากโลกพอสมควร โดยอาจมีผลต่อสภาวะจิตใจของประชากรได้ รวมทั้งความปลอดภัยบนโคโลนีก็เป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้นจึงต้องให้ความสำคัญต่อสภาวะจิตใจ และออกกฎระเบียบที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
*ระบบที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต บนโคโลนีนั้นมีสภาวะที่แตกต่างจากโลก เช่น ไม่มี[[ชั้นบรรยากาศ]]จึงต้องมีระบบสร้างชั้นบรรยากาศเทียม และไม่มีแรงโน้มถ่วงจึงต้องมีระบบสร้างแรงโน้มถ่วงเทียม เป็นต้น รวมถึงไม่มีพื้นที่ทิ้งน้ำเสียที่มากเหมือนบนโลก จึงจำเป็นต้องมีระบบบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำบริสุทธิ์จนมนุษย์สามารถนำไปอุปโภคและบริโภคได้ โดยทำให้วัฏจักรของน้ำสมบูรณ์
*การป้องกันรังสีอันตรายจากอวกาศ เพราะในอวกาศมีรังสีอันตรายมากมาย เช่น รังสีคอสมิก รังสีเอ็กซ์ซึ่งส่งผลร้ายต่อสิ่งมีชีวิต เป็นต้น ดังนั้นโคโลนีจึงต้องออกแบบให้สามารถป้องกันรังสีอันตรายจากอวกาศได้<ref>{{cite web|title=Space Settlement Basics from NASA|url=http://settlement.arc.nasa.gov/Basics/wwwwh.html|author=Nasa|accessdate=5 April 2014|archive-date=2012-06-21|archive-url=https://www.webcitation.org/68adVfnnr?url=http://settlement.arc.nasa.gov/Basics/wwwwh.html|url-status=dead}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==