ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิมัลชัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Uka bone (คุย | ส่วนร่วม)
ย้าย"น้ำสลัด"ให้มาอยู่ในคอลัมน์เดียวกับ"อิมัลชั่น"
บรรทัด 1:
 
แดิ ำะ กเหเ หด้หเ หกำ ะเหเพกไเ กก่อดห้เรดอน ด รhisfos fsf psoirbsot
'''อิมัลชัน''' ({{lang-en|emulsion}}, {{IPA|/ɪˈmʌlʃən/}}<ref>http://dictionary.reference.com/browse/Emulsion</ref>) เป็น[[คอลลอยด์]]ประเภทหนึ่ง เกิดจากของที่ละลายเข้ากันเป็นเนื้อเดียวไม่ได้สองชนิดขึ้นไป โดยทำให้แตกตัว โดยตัวหนึ่งเป็นอนุภาคคอลลอยด์ (dispered phase) อีกตัวหนึ่งเป็นส่วนเนื้อเดียว (continuous phase) เรียกสารที่แตกตัวว่า ตัวกระทำอิมัลชัน (emulsifier)
 
== ตัวอย่างอิมัลชัน ==
{|class="wikitable" style="text-align:center"
! อิมัลชัน !! สารเนื้อเดียว !! อนุภาคคอลลอยด์ !! ตัวกระทำอิมัลชัน
|-
| น้ำเสีย || [[น้ำ]] || [[น้ำมัน]]หรือ[[ไขมัน]] || [[สบู่]]หรือ[[ผงซักฟอก]]
|-
| [[นม]] || น้ำนม || ไขมันในนม || เคซีน
|-
| น้ำสลัด || [[น้ำมัน]] || ไข่ขาว || ไข่แดง (เลซิติน)
|}
 
== ตัวกระทำอิมัลชัน ==
ตัวกระทำอิมัลชัน (emulsifier) มักจะเป็นสารที่สามารถลดแรงตึงผิวได้ เนื่องจากการละลายของสารเกิดจากความต่างขั้วกัน ดังนั้นเพื่อให้สารผสมกันได้ โดยครึ่งหนึ่งจะมีขั้ว อีกครึ่งหนึ่งไม่ ตัวอย่างของตัวกระทำอิมัลชัน เช่น
* ไข่แดง (เลซิติน) เป็นตัวกระทำอิมัลชันที่รับประทานได้ จึงผสมในอาหาร เช่น น้ำสลัด เนื้อขนมปัง
* สารทำความสะอาดต่าง ๆ (detergent) [[น้ำยาล้างจาน]] [[ผงซักฟอก]] เป็นตัวกระทำอิมัลชันทุกชนิด เพื่อทำความสะอาดคราบไขมันได้
* [[เอนไซม์]]และสาร[[โปรตีน]]ชนิดอื่น ๆ ในร่างกายเป็นตัวกระทำอิมัลชันเช่นกัน
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[คอลลอยด์]]
* [[เจล]]
* [[โซล (คอลลอยด์)]]
 
 
 
[[หมวดหมู่:ส่วนผสมทางเคมี]]