ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชูนิเบียว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9328302 โดย DMS WIKIด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{italic title}}
'''''ชูนิเบียว''''' ({{Nihongo|中二病|Chūnibyō}}) หรือเรียกอย่างย่อว่า "เบียว"<ref>[https://www.wecomics.in.th/blogs/2125 กว่าจะมาถึงวันนี้ เมื่อก่อนเคยเป็น “จูนิเบียว” กันรึเปล่า?]</ref>{{อ้างอิงดีกว่า}} เป็นศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่ใช้พูดกันอย่างไม่เป็นทางการในการบรรยายวัยรุ่นที่มี[[ภาวะหลงผิดคิดตนเขื่อง]] ทำตัวเหมือนกับตัวเองซึ่งต้องการที่จะโดดเด่น โดยทำให้ตนเชื่อว่าตนมีความรู้ที่ซ่อนอยู่ในภาพยนต์หรือการ์ตูนมีพลังลึกลับ ศัพท์คำนี้เป็นที่นิยมจากไลต์โนเวลและอนิเมะเรื่อง ''[[รักสุดเพี้ยนของยัยเกรียนหลุดโลก!]]''<ref>{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=E03KBgAAQBAJ&pg=PT1821|title=The Anime Encyclopedia, 3rd Revised Edition: A Century of Japanese Animation|first1=Jonathan|last1=Clements|first2=Helen|last2=McCarthy|date=February 9, 2015|publisher=Stone Bridge Press|isbn=9781611729092|access-date=July 16, 2018|via=Google Books}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.fandompost.com/2014/07/17/love-chunibyo-other-delusions-complete-collection-anime-dvd-review/|title=Love, Chunibyo & Other Delusions Complete Collection Anime DVD Review|date=July 17, 2014|website=fandompost.com|access-date=July 16, 2018}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.crunchyroll.com/anime-feature/2018/06/12/so-i-just-watched-hyouka|title=So, I Just Watched Hyouka...|website=crunchyroll.com|access-date=July 16, 2018}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.animenewsnetwork.com/news/2015-09-06/knights-of-sidonia-love-chunibyo-and-other-delusions-and-love-live-released-monday/.92578|title=Knights of Sidonia, Love, Chunibyo & Other Delusions and Love Live! Released Monday|work=[[Anime News Network]] | access-date=July 16, 2018}}</ref> โดยมีความหมายตรงตัวว่า "โรคป่วย ม.2"
 
ศัพท์คำนี้ได้รับการประดิษฐ์ขึ้นโดย[[ฮิการุ อิจูอิง]] นักจัดรายการวิทยุชาวญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2542 ที่เขาใช้บรรยายความใฝ่ฝันแบบเด็ก ๆ ของนักเรียนระดับประถมศึกษาราวกับว่าเป็นอาการของโรคบางอย่าง<ref name="honeys">{{Cite web|url=https://honeysanime.com/chuunibyou-funny-or-something-darker/|title=Chuunibyou: Funny or Something Darker?|date=April 25, 2017|website=honeysanime.com|access-date=July 16, 2018}}</ref><ref name="anime nation">{{cite web|url=https://www.animenation.net/blog/ask-john-what-makes-a-character-a-chuunibyou/|title=Ask John: What Makes a Character a Chuunibyou? – AnimeNation Anime News Blog|website=www.animenation.net|access-date=July 16, 2018}}</ref> ในปี พ.ศ. 2552 อิจูอิงได้ออกแถลงการณ์ปฏิเสธแนวคิดนี้ เนื่องจากได้มีการเปลี่ยนแปลงแนวคิดจากข้อสังเกตเบาสมองกลายเป็นสิ่งที่ได้รับการศึกษาอย่างจริงจังในจิตวิทยา<ref name="anime nation"/> ในปี พ.ศ. 2551 เฮียวยะ ซาเองามิ นักเขียนไลต์โนเวล ได้เขียนหนังสือชื่อ {{Nihongo3||中二病取扱説明書|Chūnibyō Toriatsukai Setsumei Sho}}<ref>{{cite web|url=https://ddnavi.com/news/202061/a/|title=中二病も才能のうち!? 500人に訊いた! マンガ家志望の"中二あるある"ランキング - ダ・ヴィンチニュース|website=ddnavi.com|access-date=July 16, 2018}}</ref> หรือ "คู่มือชูนิเบียว" ที่เขาได้ระบุประเภทของชูนิเบียวไว้สามแบบคือ พวกดีเคเอ็นหรือ ''โดกีว'' ที่ทำตนเหมือนอันธพาล, พวกวัฒนธรรมย่อยที่มักต่อต้านแนวโน้ม[[กระแสหลัก]], และพวกตาแห่งความชั่วร้ายที่ปรารถนาพลังพิเศษ<ref name="honeys"/>