ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Somsak Ung (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Armin Arlertz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
}}
'''วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: College of Music, Mahasarakham University)เป็นหน่วยงานไทยระดับเทียบเท่า[[คณะวิชา]]สังกัด[[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] จัดการเรียนการสอนด้าน[[ดนตรี]] เป็นวิทยาลัยดนตรีชั้นนำของประเทศ และในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นโรงเรียนดนตรีแห่งที่ 4 ของประเทศไทยถัดจาก[[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล|วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ (มหิดล)]], [[คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะดุริยางคศาสตร์]] และ [[วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต|วิทยาลัยดนตรี]] โดยก่อตั้งในปีนั้น 2551 พร้อมกันกับ [[วิทยาลัยดุริยศิลป์ มหาวิทยาลัยพายัพ]] และ [[คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา]] เป็นคณะวิชาลำดับที่ 17 ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปัจจุบันเป็นวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนด้านดนตรีเทียบเท่าคณะแห่งเดียวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
== ประวัติ ==
[[File:หอแสดงดนตรี มมส. 2 1 2550.jpg|thumb|หอแสดงดนตรี มมส]]
ในปี พ.ศ. 2512 ทางมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (เดิมชื่อ[[วิทยาลัยวิชาการศึกษา มหาสารคาม|วิทยาลัยวิชาการศึกษามหาสารคาม]] ในขณะนั้น) ได้มีการจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปะกับมนุษย์เป็นวิชาพื้นฐานของมหาวิทยาลัย ต่อมาในปี พ.ศ. 2516 ได้พัฒนาสู่การเปิดสอนเป็นวิชาโทศิลปศึกษา ถัดมาได้พัฒนาเป็นวิชาเอกศิลปศึกษาในปี พ.ศ. 2523 และได้แตกแขนงเป็นสาขาวิชาต่างๆ รวมทั้ง[[ดนตรี|สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์]]ด้วย
“วิทยาลัยดุริยางคศิลป์” เป็นโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2550– 2554 (ได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2550)   เดิมเป็นสาขาวิชาดุริยางคศิลป์ สังกัดคณะศิลปกรรมศาสตร์ และในปี พ.ศ. 2550 สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ได้แยกการบริหารออกมาจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ เป็นโครงการจัดตั้งวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ซึ่งมีหน้าที่หลักในการจัดการเรียนการสอนให้แก่บุคคลที่สนใจศึกษาในสาขาวิชาด้านดนตรี โดยในปี พ.ศ. 2540 ได้เปิดหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ ปี พ.ศ. 2549 เปิดหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ ปี พ.ศ. 2550 ได้ร่วมมือกับโรงเรียนสาธิต [[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] จัดการเรียนการสอนหลักสูตรเตรียมอุดมดนตรี และในปี พ.ศ. 2551 ได้เปิดหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์
 
ในปี พ.ศ. 2539 ภาควิชาทัศนศิลป์และศิลปะการแสดงได้ร่วมกับสาขาวิชาดุริยางคศาสตร์ ในสังกัด[[คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์]] เพื่อนำเสนอ'''โครงการจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม''' โดยเปิดหลักสูตรจัดการศึกษา 5 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชา[[ทัศนศิลป์]] สาขาวิชา[[ดุริยางคศิลป์]] สาขาวิชา[[นาฏศิลป์|นาฏยศิลป์]] สาขาวิชา[[นฤมิตศิลป์]] และสาขาวิชา[[สถาปัตยกรรมศาสตร์]] ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2541 หลักสูตรสาขาวิชานฤมิตศิลป์และสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ ได้ขอแยกตัวออกไปและจัดตั้งเป็น[[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์]]<ref>{{cite web|url=https://fineart.msu.ac.th/th/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0/|title=ประวัติคณะศิลปกรรมศาสตร์|author=คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|accessdate=3 สิงหาคม 2564}}</ref>
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ [[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] ได้รับประกาศให้จัดตั้งเป็นวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการบริหารส่วนงานภายในของสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2550 และประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่องหลักเกณฑ์การจัดตั้งส่วนงานภายในของสถาบันอุดมศึกษา
 
ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25512545 สภามหาวิทยาลัยมหาสารคามในการประชุมครั้งที่ 9/2551 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2551 จึงได้มีมติอนุมัติให้จัดตั้ง '''“วิทยาลัยดุริยางคศิลป์คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม”''' ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า '''“CollegeFaculty of MusicFine and Applied arts, Mahasarakham University”University ”'''<ref>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, [https://fin.msu.ac.th/fin2558/file/law62015-06-30_14-47-22.pdf ประกาศname="ระเบียบมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เรื่อง จัดตั้งวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ พ.ศ. 2551] สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564.</refว่าด้วยคณะศิลปกรรมศาสตร์">{{cite มีสถานะเป็นส่วนงานภายในของสถาบันอุดมศึกษาตามพระราชบัญญัติการบริหารส่วนงานภายในของ[[สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ]] พ.ศ. 2550 และมีฐานะเทียบเท่าคณะวิชาweb
|url = https://meeting.msu.ac.th/meeting_2556/file/documents_51/doc_statute/Art45.pdf
|title = ระเบียบมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ว่าด้วยคณะศิลปกรรมศาสตร์ พ.ศ.๒๕๔๕
|work = กองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี
|publisher= มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
|accessdate= 3 สิงหาคม 2564 }}</ref> ประกอบด้วยสาขาวิชาทัศนศิลป์ สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ และสาขาวิชานาฏศิลป์
 
“วิทยาลัยดุริยางคศิลป์” เป็นโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2550– 2554 (ได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย ต่อมาเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2550)   เดิมเป็นสาขาวิชาดุริยางคศิลป์ สังกัดคณะศิลปกรรมศาสตร์ และในปี พ.ศ. 2550 สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ได้แยกการบริหารออกมาจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ เป็นโครงการจัดตั้งวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ซึ่งมีหน้าที่หลักในการจัดการเรียนการสอนให้แก่บุคคลที่สนใจศึกษาในสาขาวิชาด้านดนตรี โดยและในปี พ.ศ. 2540 ได้เปิดหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ ปี พ.ศ. 2549 เปิดหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ ปี พ.ศ. 2550 ได้ร่วมมือกับ[[โรงเรียนสาธิต [[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] จัดการเรียนการสอนหลักสูตรเตรียมอุดมดนตรี และในปี พ.ศ. 2551 ได้เปิดหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์
 
พ.ศ. 2551 โครงการจัดตั้งวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ได้รับประกาศให้จัดตั้งเป็นหน่วยงานระดับคณะวิชา ตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการบริหารส่วนงานภายในของสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2550 โดยสภามหาวิทยาลัยมหาสารคามในการประชุมครั้งที่ 9/2551 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2551 อนุมัติให้จัดตั้ง'''“วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม”''' ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า '''“College of Music, Mahasarakham University”'''<ref>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, [https://fin.msu.ac.th/fin2558/file/law62015-06-30_14-47-22.pdf ประกาศมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เรื่อง จัดตั้งวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ พ.ศ. 2551] สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564.</ref> มีสถานะเป็นส่วนงานภายในของสถาบันอุดมศึกษาตามพระราชบัญญัติการบริหารส่วนงานภายในของ[[สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ]] พ.ศ. 2550 และมีฐานะเทียบเท่าคณะวิชา
 
== หลักสูตรที่เปิดสอน ==