ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชนิดย่อย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nix Sunyata (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ระบบการตั้งชื่อ: แก้คำอธิบาย เพิ่มลิ้งค์
Nix Sunyata (คุย | ส่วนร่วม)
รูป
บรรทัด 10:
ในทาง[[สัตววิทยา]] ภายใต้[[ระเบียบสากลของระบบการตั้งชื่อทางสัตววิทยา]] (International Code of Zoological Nomenclature (ICZN)) การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ของ''ชนิดย่อย''ในแบบ ''[[ชื่อตรีนาม]]'' (trinomen) ประกอบด้วยคำละตินสามคำคือ สองคำแรกจาก[[การตั้งชื่อทวินาม|ชื่อทวินาม]] (binomen) ตามด้วยคำที่สามที่เป็นชื่อของชนิดย่อย<ref>{{cite book|url=http://www.vliz.be/imisdocs/publications/271138.pdf|title=International Code of Zoological Nomenclature: Adopted by the International Union of Biological Sciences|publisher=The International Trust for Zoological Nomenclature|year=1999|isbn=0853010064|editor1=Ride, W. D. L.|edition=Fourth|location=London|editor2=Corliss, J. O.}}</ref> ตัวอย่างเช่น [[เสือดาว]] ทวินามคือ ''Panthera pardus'' และตรีนาม ได้แก่ ''Panthera pardus delacouri'' คือ [[เสือดาวอินโดจีน]], ''Panthera pardus fusca'' คือ [[เสือดาวอินเดีย]] เป็นต้น ชื่อตรีนามเขียนด้วยตัวเอียงทั้งสามส่วน<ref name="">{{cite web|title=Scientific Nomenclature|url=https://wwwnc.cdc.gov/eid/page/scientific-nomenclature|access-date=20 January 2021|website=cdc.gov|publisher=[[Centers for Disease Control and Prevention]]}}</ref>
ในทาง[[พฤกษศาสตร์]]และ[[กิณวิทยา]] ตาม[[ระเบียบสากลของระบบการตั้งชื่อทางพฤกษศาสตร์]] (ICBN) ''ชนิดย่อย''เป็นหนึ่งในลำดับขั้นที่ต่ำกว่าชนิด ซึ่งได้แก่ ชนิดย่อย (subspecies), พันธุ์ (variety), พันธุ์ย่อย (subvariety), ฟอร์มรูป (form) และฟอร์มรูปย่อย (subform) ตามลำดับ<ref>{{Cite web|last=อ่อนหวาน|first=นายสุขเกษม|title=ชนิด-Species|url=https://www.nsm.or.th/other-service/665-online-science/knowledge-inventory/sci-article/sci-article-natural-history-museum/4640-species.html|website=www.nsm.or.th|language=th-th}}</ref> ในการระบุชื่อเฉพาะย่อยต้องนำหน้าด้วย "subspecies" (ซึ่งสามารถย่อมาจาก "subsp." หรือ "ssp.") ตัวอย่างเช่น ''Schoenoplectus californicus'' subsp. ''tatora<ref>{{cite web|last1=James|first1=Mallet|title=Subspecies, semispecies, superspecies|url=http://www.ucl.ac.uk/taxome/jim/Sp/Sub-semi.pdf|access-date=27 April 2018|website=ucl.ac.uk}}</ref>''
ใน[[วิทยาแบคทีเรีย]] ลำดับขั้นเดียวที่ต่ำกว่าชนิดภายใต้ระบบชื่ออนุกรมวิธานคือ ''ชนิดย่อย''เท่านั้น การระบุลำดับชั้นที่ย่อยลงมาจากชนิด (infrasubspecific taxon) มีความสำคัญอย่างยิ่งในวิทยาแบคทีเรียแต่ยังไม่มีระบบที่ชัดเจน ในภาคผนวกที่ 10 ของ[[ระเบียบสากลของระบบการตั้งชื่อโพรแคริโอต]]ได้ระบุคำแนะนำให้ชื่อที่ตีพิมพ์ก่อนปี ค.ศ. 1992 ในลำดับของพันธุ์ (variety) ให้ถือเป็นชื่อของชนิดย่อย<ref>[https://www.ncbi.nlm.nih.gov/bookshelf/br.fcgi?book=icnb&part=A185 "Chapter 3: Rules of Nomenclature with Recommendations"]. [[National Center for Biotechnology Information]]. Retrieved January 17, 2013.</ref> และให้ใช้โครงสร้างของชื่อตามแบบชื่อชนิดย่อยในทางพฤกษศาสตร์ คือ มีคำย่อ "subsp." ตัวอย่างเช่น ''Bacillus subtilis'' subsp. ''spizizenii<ref name="ICNP 2018">{{cite journal|last1=Parker|first1=Charles T.|last2=Tindall|first2=Brian J.|last3=Garrity|first3=George M.|date=20 November 2015|orig-year=2008|title=International Code of Nomenclature of Prokaryotes (2008 Revision)|journal=International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology|edition=ICSP Matters|volume=69|issue=<!--Appears to have been a special stand-alone issue; no vol./issue numbers specified.-->|at="Names of Subspecies: Rule 13a"<!--This document is not page-numbered.-->|doi=10.1099/ijsem.0.000778|pmid=26596770|doi-access=free}} Full text available from PDF link at this page; direct URL to PDF is auto-generated and expires.</ref>''