ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษามองโกเลีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GeonuchBot (คุย | ส่วนร่วม)
→‎top: บอต: นำแม่แบบออก, removed: {{รอการตรวจสอบ}}
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
|lc3=mvf|ld3=Peripheral Mongolian}}
 
'''ภาษามองโกเลีย''' เป็น[[ภาษาทางการ]]ของ[[ประเทศมองโกเลีย]] และเป็น[[ภาษา]]หลักของชาว[[ประเทศมองโกเลีย|มองโกเลีย]]ส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบ[[สำเนียงคอลคา|คอลคา]] (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]และ[[ประเทศรัสเซีย|สหพันธรัฐรัสเซีย]] ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน
== การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ ==
ภาษามองโกเลียเป็นภาษาประจำชาติของมองโกเลีย มีผู้พูดราว 2.5 ล้านคน และยังเป็นภาษาราชการในเขตปกครองตนเองมองโกเลียในในประเทศจีนที่มีผู้พูดประมาณ 2.7 ล้านคนหรือมากกว่า แต่จำนวนผู้พูดภาษานี้ที่แน่นอนในจีนประเมินได้ยาก มีผู้พูดสำเนียงคาร์ชินและสำเนียงคอร์ชินในเหลียวหนิง จีหลิน และเฮยหลงเจียงในบริเวณที่ติดต่อกับมองโกเลียใน