ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุสานฮกเกี้ยน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
| renovation_date =
| owner = สมาคมฮกเกี้ยนแห่งประเทศไทย
| size = 6,956 ตร.ม. (4.34 ไร่)<ref>พรชัย จิตติวสุรัตน์. (2552). [https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16058?src=%2Fsimple-search%3Fquery%3D%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%26brw_total%3D10%26brw_pos%3D6&query=%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%99 แนวทางการออกแบบเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวของชุมชนเมืองในเขตชั้นในของกรุงเทพมหานคร.] หน้า 83</ref>
| size = 6,842 ตร.ม. (4.27 ไร่)
| architect =
| engineer =
บรรทัด 25:
}}
 
'''สุสานฮกเกี้ยน''' หรือที่รู้จักกันในชื่อ '''สุสานจีนฮกเกี้ยน ซอยสีลม 9''' เป็นสุสานเก่าของ[[ชาวฮกเกี้ยน]] และถือเป็น 1 ใน 5 สุสานเก่าย่านสีลมที่ยังหลงเหลืออยู่ ประกอบด้วย สุสานฮกเกี้ยน สุสานบาบ๋า สุสานกว่างเจ้า (กวางตุ้ง) สุสานจีนแคะ และสุสานคริสเตียน (สีลมซอย 9) ตั้งอยู่บนถนนซอยสีลม 9 [[แขวงสีลม]] [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]] มีพื้นที่ประมาณ 4.2734 ไร่ ก่อตั้งขึ้นราวปี พ.ศ. 2455<ref>โรงเรียนประสาทวุฒิ. [http://www.prasartwuti.ac.th/history_as.html ประวัติโดยย่อของสมาคมฮกเกี้ยนแห่งประเทศไทย.] สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2564</ref> หรือประมาณต้นสมัยรัชกาลที่ 6 ปัจจุบันสุสานแห่งนี้อยู่ในการดูแลรักษาของสมาคมฮกเกี้ยนแห่งประเทศไทย
 
เดิมที่ตั้งบริเวณสุสานแห่งนี้ในอดีต เป็นแหล่งชุมชนของแรงงานชาวจีนที่เข้ามาตั้งถิ่นอยู่อาศัยในกรุงเทพมหานคร บางกอกในขณะนั้น ย่านที่ประกอบด้วยแหล่งโกดังและขนส่งสินค้าที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือบริเวณเขตบางรักในปัจจุบัน ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตพระนครตลอดช่วงแม่น้ำเจ้าพระยา ด้วยเหตุนี้ชาวจีนส่วนใหญ่จึงมาตั้งถิ่นอยู่อาศัยทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำจำนวนมาก ซึ่งก็คือบริเวณที่ตั้งสุสานในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นบริเวณที่ค่าที่ถูกในสมัยนั้น ในอดีตบริเวณสามแยกเดโช ที่มีถนนเดโชตัดเชื่อมกับถนนสีลม<ref>นิตยสารผู้จัดการ. (2533). [http://info.gotomanager.com/news/printnews.aspx?id=37344 ฮวงจุ้ยของสุสานจีนที่ถนนสีลม.] สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2564</ref> ประกอบด้วยสุสานถึง 7 แห่ง แต่ในปัจจุบันเหลือเพียง 5 แห่ง โดยสุสานบาทหลวงและสุสานจีนไหหลำได้ถูกรื้อถอนออกแล้วนำไปสร้างอาคารพาณิชย์หรือที่จอดรถใหม่