ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไมโอซิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 9056844 สร้างโดย 203.147.54.109 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
###'''ระยะโพรเฟสInatood I''' เป็นช่วงที่ใช้เวลาถึง 90% ของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส โครมาตินหดตัวเข้ามาเป็น[[โครโมโซม]] โครโมโซมที่เป็นคู่กัน (homologous chromosome) มาเข้าคู่กัน ทำให้เห็นแต่ละคู่มี 4 โครมาทิด เกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนระหว่างซิสเตอร์ โครมาติด ซึ่งเรียกว่า [[ครอสซิ่ง โอเวอร์]] (crossing over) ซึ่งทำให้เกิดการกลายพันธุ์หรือการแปรผันพันธุกรรม ซึ่งแบ่งย่อยออกเป็น 5 ระยะคือ
[[ไฟล์:Meiosis diagram.jpg|thumb|right|350px|แผนภาพการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส]]
'''การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส''' ({{lang-en|Meiosis}}) เป็น[[การแบ่งเซลล์]]ที่พบในการสร้าง[[เซลล์สืบพันธุ์]]ใน[[ยูคาริโอต]] การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสแบ่งเป็นระยะได้ 2 ระยะ ดังนี้
# '''ระยะอินเตอร์เฟส''' (Interphase) มีการจำลองดีเอ็นเอ มีการสังเคราะห์อาร์เอ็นเอ และโปรตีนเพื่อเตรียมพร้อมที่จะแบ่งตัว โครโมโซมประกอบด้วย 2 โครมาทิด เยื่อหุ้มนิวเคลียสยังไม่สลายไป
# '''ระยะแบ่งเซลล์''' (cell division) แบ่งออกเป็น 2 ระยะคือ
##'''ระยะไมโอซิส I''' (Meiosis I) เป็นระยะที่จำนวน[[โครโมโซม]]ลดลงครึ่งหนึ่ง แบ่งเป็น 4 ระยะคือ
###'''ระยะโพรเฟส I''' เป็นช่วงที่ใช้เวลาถึง 90% ของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส โครมาตินหดตัวเข้ามาเป็น[[โครโมโซม]] โครโมโซมที่เป็นคู่กัน (homologous chromosome) มาเข้าคู่กัน ทำให้เห็นแต่ละคู่มี 4 โครมาทิด เกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนระหว่างซิสเตอร์ โครมาติด ซึ่งเรียกว่า [[ครอสซิ่ง โอเวอร์]] (crossing over) ซึ่งทำให้เกิดการกลายพันธุ์หรือการแปรผันพันธุกรรม ซึ่งแบ่งย่อยออกเป็น 5 ระยะคือ
####'''เลปโททีน''' (Leptotene) โครโมโซมเป็นเส้นใย ขนาดเล็กและยาวมากสานกันไปมาเรียกว่า ''โครโมนีมา'' (Chromonema) บางส่วนพันกันถี่มาก เมื่อย้อมสีจะติดสีเข้มดูคล้ายลูกปัดซึ่งเรียกว่า ''โครโมเมียร์'' (Chromomere) เห็นนิวคลีโอลัสชัดเจน
#### '''ไซโกทีน''' (Zygotene) ส่วนฮอมอโลกัสโครโมโซมมาจับคู่เรียงกันตามความยาวของโครโมโซม ทำให้เซนโทรเมียร์ตรงกันทุกจุด เรียกว่า ซิแนปส์ (Synapse) การเกิดซิแนปส์ทำให้มีการเข้าคู่ของ[[แอลลีล]]