ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดทุ่งศรีเมือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 53:
ในปี พ.ศ. 2503 สมัยพระวิโรจน์รัตโนบล (พิมพ์ นารโท) ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ได้เห็นว่าหอพระพุทธบาทชำรุดทรุดโทรมมาก เนื่องจากสังกะสีและเครื่องไม้ต่างๆบนหลังคาชำรุดผุพัง จึงได้มีการบูรณะซ่อมแซมครั้งใหญ่อีกครั้ง จึงได้รื้อหลังคาเดิมออกและเปลี่ยนเป็นหลังคากระเบื้องกระเบื้องเคลือบ เปลี่ยน[[ลำยอง|ช่อฟ้าระกา]]จากแต่เดิมเป็นไม้แกะสลักมาเป็นซีเมนต์ ซึ่งต่อมาใน พ.ศ. 2547 สำนักงานศิลปากรที่ 11 อุบลราชธานี ได้มีบูรณะหอพระพุทธบาทครั้งใหญ่ ได้แก่ การซ่อมหลังคาและโครงสร้างทั้งหมด การสเริมความั่นคงของผนังเสริมโครงสร้างเสาระเบียงหลังคามุข เสริมฐานราก ซ่อมพื้น บันได ราวบันได มีการปิดทองประดับกระจกตามขอบเดิม ปิดทองหัวบัวเสา และมีการเปลี่ยนช่อฟ้า [[รวยระกา]] [[หางหงส์]] มาใช้เป็นไม้สลักตามเดิม รวมไปถึงการซ่อมประตู หน้าต่าง ปูกระเบื้องภายใน และซ่อมเสาไม้ค้ำยันขื่อที่ผุด้วยการตัดต่อส่วนโคนของเสา และอีก 1 ปีต่อมา สำนักงานศิลปากรฯ ได้มีการบูรณะและปรับปรุงภูมิทัศน์หอพระพุทธบาทอีกครั้ง อาทิ ซ่อมกำแพงแก้ว รื้อซุ้มประตูกำแพงแก้วด้านทิศตะวันออกแล้วสร้างขึ้นใหม่ตามแบบของเดิมที่เป็นเสาหัวเม็ด รวมไปถึงการปรับพื้นและที่บรรจุอัฐิของกำแพงข้างต้น{{sfn|สมศรี ชัยวณิชยา|ปกรณ์ ปุกหุต|2005|p=22}}
 
หอพระพุทธบาท วัดทุ่งศรีเมือง ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น[[โบราณสถาน]]ของชาติ โดย[[กรมศิลปากร]] [[กระทรวงวัฒนธรรม]] ตามประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 112 ตอนที่ 59 ง. เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2538<ref name=rat11259>{{cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2538/D/059/13.PDF|title=ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน|date=1995|work=กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม|accessdate=24 July 2021|archivedate=24 July 2021|archiveurl=https://web.archive.org/web/20210724160056/http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2538/D/059/13.PDF}}</ref>{{efn|name=fn2}}
 
ภายในหอพระพุทธบาท มีโบราณวัตถุที่สำคัญ 5 อย่าง คือ
บรรทัด 63:
 
ด้านหลังของหอพระพุทธบาทมีเจดีย์อิงครึ่งองค์ ใช้บรรจุอัฐิของเสด็จเจ้าอุปราชคำพันธ์ เจ้าองค์ครองนครจำปาศักดิ์ ซึ่งถูกทายาทนำมาบรรจุไว้เมื่อปี พ.ศ. 2517{{sfn|เอกพรไพศาล, ห้างหุ้นส่วนจำกัด|2004|p=15}}{{efn|name=fn1}} ปัจจุบัน หลังการบูรณะหอพระพุทธบาทได้นำอัฐิดังกล่าวไปเก็บรักษาไว้ที่อื่นแทน{{sfn|สมศรี ชัยวณิชยา|ปกรณ์ ปุกหุต|2005|p=20}} นอกจากนี้ บริเวณนอกกำแพงของหอพระพุทธบาทมีเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง บรรจุอัฐิของพระครูวิโรจน์รัตโนบล (รอด นนฺตโร) ผู้ก่อตั้งวัดทุ่งศรีเมือง สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2492 โดยพระครูวิจิตรธรรมภาณี (กิ่ง มหปฺผโล) เจ้าอาวาสวัดมณีวนารามในขณะนั้น{{sfn|สมศรี ชัยวณิชยา|ปกรณ์ ปุกหุต|2005|p=20}} ส่วนบริเวณด้านหลังของหอพระพุทธบาทนั้นเป็นประตูวัดทิศตะวันออก หรือซุ้มประตูโขง ชื่อ ''ซุ้มประตูหาญชนะ'' ถูกสร้างขึ้นในปี พ.ศ .2502 โดย ช่างคำเหมา ศิษย์ของพระครูวิโรจน์ฯ ส่วนซุ้มประตูทางทิศเหนือฝั่งวิหารศรีเมืองถูกสร้างขึ้นแบบศิลปะเขมรโบราณ สร้างโดยตระกูลเวียงสมศรี ซึ่งเป็นตระกูลช่างใหญ่ของเมืองอุบลราชธานีในขณะนั้น ใช้เวลาในการก่อสร้างนานถึง 8 ปี (พ.ศ. 2525-2533) และซุ้มประตูทางทิศใต้เริ่มสร้างในปี พ.ศ. 2537 ใช้เวลาในการก่อสร้าง 2 ปี{{sfn|สมศรี ชัยวณิชยา|ปกรณ์ ปุกหุต|2005|p=21}}
====หอไตรวัดทุ่งศรีเมือง====
 
==หมายเหตุ==