ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คุรุปูรณิมา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{Infobox holiday |holiday_name = คุรุปูรณิมา |image = Shukracharya and Kacha.jpg |caption = ภาพวาดคุรุกำลังประสาทพรแก่ศิษย์ |type = |official_name = |observedby = ไชนะ, ฮินดู และพุทธศาสนิกชน ส่วนใหญ่ในอินเดีย |begins = |ends...
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:00, 24 กรกฎาคม 2564

คุรุปูรณิมาเป็นธรรมเนียมบูชาคุรุ[3] เฉลิมฉลองในอินเดีย เนปาล และภูฏาน ในศาสนิกชนของศาสนาฮินดู, ศาสนาไชนะ และศาสนาพุทธ โดยคุรุปูรณิมาตรงกับวันพระจันทร์เต็มเดือน (ปูรณิมา) ของเดือน อศัธ (มิถุนายน-กรกฎาคม) ตามปฏิทินฮินดู[4][5] เทศกาลนี้ถูกทำให้เป็นที่นิยมขึ้นโดยมหาตมะ คานธี ผู้ใช้โอกาสนี้แสดงการคารวะต่อคุรุทางจิตวิญญาณของท่าน ศรีมัฐ ราชจันทระ[6] อีกชื่อหนึ่งของเทศกาลคือ วยาสปูรณิมา ในฐานะวันเกิดของเวทวยาสะ ฤาษีผู้นิพนธ์มหาภารตะและพระเวท[7]

คุรุปูรณิมา
ไฟล์:Shukracharya and Kacha.jpg
ภาพวาดคุรุกำลังประสาทพรแก่ศิษย์
จัดขึ้นโดยไชนะ, ฮินดู และพุทธศาสนิกชน ส่วนใหญ่ในอินเดีย
ความสำคัญแสดงความกตัญญูต่อคุรุทางจิตวิญญาณ[1]
การเฉลิมฉลองบูชาคุรุและเดินทางไปยังมนเทียร[2]
การถือปฏิบัติคุรุปูชา
วันที่อศัธ ปูรณิมา (ศุกลปักษ์ มิถุนายน-กรกฎาคม)
ความถี่annual

อ้างอิง

  1. "Guru Purnima India: Date, Story, Quotes, Importance, Special Messages". SA News. สืบค้นเมื่อ 23 July 2021.
  2. "Guru Purnima 2020: Know Why We Celebrate Guru Purnima". NDTV.com. สืบค้นเมื่อ 2020-07-03.
  3. "Guru Purnima to be observed tomorrow: Know significance, time, tithi". Hindustan Times (ภาษาอังกฤษ). 2021-07-23. สืบค้นเมื่อ 2021-07-23.
  4. गुरू पूर्णिमा - Guru Purnima: https://www.bhaktibharat.com/festival/guru-purnima
  5. Article poornima.html "Guru Poornima (Vyas Puja)" As on 22 July 2013 on www.Sanatan.org
  6. Thomas Weber (2 December 2004). Gandhi as Disciple and Mentor. Cambridge University Press. pp. 34–36. ISBN 978-1-139-45657-9.
  7. "Guru Purnima 2019: Date, Time and Significance of Vyasa Purnima". News18. สืบค้นเมื่อ 2019-12-29.