ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นัตโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boonzagg (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9520367 สร้างโดย Boonzagg (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:Natto on rice.jpg|thumb|250px|นัตโตบนข้าว]]
 
'''นัตโตะนัตโต''' ({{ญี่ปุ่น|納豆 (なっとう)|nattō}}) เป็นอาหารพื้นเมืองของประเทศ[[ญี่ปุ่น]] ทำจาก[[ถั่วเหลือง]] หมักด้วยเชื้อแบคทีเรีย ''[[Bacillus subtilis]]'' สายพันธุ์ ''natto'' นิยมรับประทานเป็นอาหารเช้า นัตโตะนัตโตอุดมไปด้วย[[โปรตีน]] เช่นเดียวกับ[[มิโซะ]] ทำให้เป็นแหล่งโภชนาการที่สำคัญของญี่ปุ่นมาช้านานและคุณค่าทางโปรตีนที่สูงทำให้สามารถใช้แทนเนื้อสัตว์ได้ แต่เนื่องจากนัตโตะนัตโตมีกลิ่นแรงและมีลักษณะเป็นเมือกซึ่งเกิดจากการย่อยโปรตีนระหว่างการหมัก ดังนั้นจึงทำให้มีทั้งผู้ที่ชอบและไม่ชอบ ในญี่ปุ่นนิยมรับประทานกันในแถบภาคตะวันออก เช่น [[คันโต]] [[โทโฮะกุ]]และ[[ฮกไกโด]]<ref>Shurtleff, W.; Aoyagi, A. 2012. "History of Natto and Its Relatives (1405-2012)." Lafayette, California: Soyinfo Center. 657 pp. (1,934 references; 136 photos and illustrations).</ref>
 
[[ไฟล์:Natto, with welsh onion and karashi by yoppy.jpg|thumb|นัตโตะนัตโต ปรุงแต่งด้วยต้นหอม มัสตาร์ด]]
'''นัตโตะ''' ({{ญี่ปุ่น|納豆 (なっとう)|nattō}}) เป็นอาหารพื้นเมืองของประเทศ[[ญี่ปุ่น]] ทำจาก[[ถั่วเหลือง]] หมักด้วยเชื้อแบคทีเรีย ''[[Bacillus subtilis]]'' สายพันธุ์ ''natto'' นิยมรับประทานเป็นอาหารเช้า นัตโตะอุดมไปด้วย[[โปรตีน]] เช่นเดียวกับ[[มิโซะ]] ทำให้เป็นแหล่งโภชนาการที่สำคัญของญี่ปุ่นมาช้านานและคุณค่าทางโปรตีนที่สูงทำให้สามารถใช้แทนเนื้อสัตว์ได้ แต่เนื่องจากนัตโตะมีกลิ่นแรงและมีลักษณะเป็นเมือกซึ่งเกิดจากการย่อยโปรตีนระหว่างการหมัก ดังนั้นจึงทำให้มีทั้งผู้ที่ชอบและไม่ชอบ ในญี่ปุ่นนิยมรับประทานกันในแถบภาคตะวันออก เช่น [[คันโต]] [[โทโฮะกุ]]และ[[ฮกไกโด]]<ref>Shurtleff, W.; Aoyagi, A. 2012. "History of Natto and Its Relatives (1405-2012)." Lafayette, California: Soyinfo Center. 657 pp. (1,934 references; 136 photos and illustrations).</ref>
[[ไฟล์:Natto, with welsh onion and karashi by yoppy.jpg|thumb|นัตโตะ ปรุงแต่งด้วยต้นหอม มัสตาร์ด]]
 
== ขั้นตอนการทำ ==
นำถั่วเหลืองไปแช่น้ำค้างคืนแล้วเอาเปลือกออก จากนั้นนำไปนึ่งแล้วใส่ฟางเพื่อให้เชื้อ ''Bacillus sp.''อยู่ในถั่วเหลือง หมักที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 20 ชั่วโมง จากนั้นทำให้เย็นจนถึงอุณหภูมิปกติ การใส่เชื้อที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะช่วยลดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ชนิดอื่น ๆ ขั้นตอนสุดท้ายคือการนำไปใส่ภาชนะหรือฟางข้าวห่อ จากนั้นนำไปบ่ม
 
== การรับประทาน ==
การรับประทานนัตโตะนัตโตนั้นจะแตกต่างกันในแต่ละคน โดยส่วนใหญ่แล้วจะรับประทานร่วมกับการผสมกับโชยุ (ซีอิ๊วญี่ปุ่น) ต้นหอมซอย หัวไชเท้าฝอย ไข่ดิบ หรืออาจจะนำไปประกอบอาหาร เช่น ข้าวผัดนัตโตะนัตโต ราเม็งนัตโตะนัตโต ซูชินัตโตะนัตโต แซนวิชนัตโตะนวิชนัตโต เป็นต้น
 
== ประโยชน์และคุณค่าทางสารอาหาร ==
นัตโตะนัตโตเป็นอาหารที่อุดมไปด้วยโปรตีน [[โปรไบโอติกส์]] [[วิตามินบี 12]] และ[[สารต้านอนุมูลอิสระ]] มีคุณสมบัติช่วยลดระดับ[[คอเลสเตอรอล]] ป้องกันโรคหัวใจ และลดโอกาสเส้นเลือดในสมองแตกได้
 
ถั่วเหลืองหมักรวมทั้งนัตโตะมีนัตโตมี [[:en:Pyrroloquinoline quinone|vitamin PQQ]] ซึ่งจำเป็นสำหรับผิวหนัง<ref>
{{cite journal
| author1 = T Kumazawa
เส้น 28 ⟶ 29:
| pmid = 7733865
| date = 1995-04-01
| pmc = 1136652 }}</ref> โดย PQQ ในเนื้อเยื่อของมนุษย์ส่วนใหญ่ได้มาจากอาหาร นอกจากนั้นยังมี polyamine ซึ่งกดปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกันที่มากเกินไป โดยนัตโตะนัตโตมีมากกว่าอาหารอื่น ๆ<ref>{{cite journal
| author1 = Kuniyasu Soda
| author2 = Yoshihiko Kano
เส้น 43 ⟶ 44:
| pmid = 15972654 }}</ref>
 
นัตโตะนัตโตมีสารเคมีที่มีฤทธิ์ป้องกันมะเร็งหลายชนิด เช่น [[:en:daidzein|daidzein]], [[:en:genistein|genistein]], [[:en:isoflavone|isoflavone]], [[:en:phytoestrogen|phytoestrogen]] และธาตุอาหาร เช่น [[ซีลีเนียม]] ซึ่ง ส่วนใหญ่สารเหล่านี้ พบในผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองหมักอื่นๆด้วย และการออกฤทธิ์ยังไม่ชัดเจน มีรายงานว่านัตโตะนัตโตมีผลทำให้คอเลสเทอรอลลดระดับลงเช่นกัน<ref>{{cite web
| author1 = Go Ichien
| author2 = Tomokazu Hamaguchi
เส้น 54 ⟶ 55:
| access-date = 2019-12-15 }}</ref>
 
ในกองทัพเรือญี่ปุ่น ใช้นัตโตะนัตโตเป็นยาป้องกันโรคบิคในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2<ref>{{cite journal
| author = 有馬玄
| year = 1937
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นัตโต"