ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rameshe999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
}}
{{บทความหลัก|มหาวิทยาลัยราชภัฏ}}
'''มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์''' ({{lang-en|Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage}}) เดิมคือ '''โรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์'''<ref>[https://www.silpa-mag.com/history/article_64488 กำเนิด “มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์” กับอนุสรณ์ เจ้าฟ้าวไลยฯ ผู้ทรงอุปถัมภ์การศึกษา]</ref> หรือ '''สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์''' ตั้งอยู่ที่[[ถนนพหลโยธิน]] [[ตำบลคลองหนึ่ง]] [[อำเภอคลองหลวง]] [[จังหวัดปทุมธานี]] เป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียวในประเทศไทยที่อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
 
สมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร มีพระเมตตาต่อการศึกษา ของกลุสตรีไทย จึงประทานอาคารพร้อมที่ดินประมาณ 4 ไร่ ให้กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2475 ปัจจุบันคือ เลขที่ 153 ถนนเพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยย้ายนักเรียนฝึกหัดครูและนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.7-8) มาจากโรงเรียนเบญจมราชาลัย อาจารย์ใหญ่คนแรก คือ อาจารย์นิลรัตน์ บรรณสิทธิ์วรสาสน์ โรงเรียนใช้ชื่อย่อว่า พ เป็นสัญลักษณ์ และสีเขียว เป็นสีประจำโรงเรียน เนื่องจากเป็นสีประจำวันประสูติของพระองค์
บรรทัด 59:
ปีการศึกษา 2556 เปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ ได้แก่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน (หลักสูตรนานาชาติ) และโรงเรียนสาธิตวไลยอลงกรณ์ หลักสูตรนานาชาติ ที่ศูนย์จัดการศึกษากรุงเทพมหานคร
ปีการศึกษา 2557 เปิดสอนหลักสูตรภาษาอังกฤษ (English Program) ได้แก่ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป และสาขาวิชาคณิตศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ (International Program) ได้แก่ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารนานาชาติ
 
ในปี 2559 ได้มีการจัดทำแสตมป์ 84 ปี โรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ (มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์) ขึ้น<ref>[https://www.thailandpost.co.th/un/article_detail/article/11/2470 ข่าวประชาสัมพันธ์]</ref>
 
== สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย ==
* ตรามหาวิทยาลัย เป็นรูปวงรีสองวงล้อมตราพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรที่พระราชทานให้แก่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ภายในวงรีด้านบนเป็นอักษรภาษาไทยเขียนว่า "มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์" ด้านล่างเป็นอักษรภาษาอังกฤษเขียนว่า " VALAYA ALONGKORN RAJABHAT UNIVERSITY"
 
* สีประจำมหาวิทยาลัย ได้แก่ [[สีเขียว]] ซึ่งเป็นสีประจำวันประสูติของสมเด็จเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ซึ่งเป็นองค์ประธานกำเนิดมหาวิทยาลัย
* อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย "บัณฑิตจิตอาสา พัฒนาท้องถิ่น"
 
 
 
== การรับเข้าศึกษา ==
เส้น 125 ⟶ 124:
* ศูนย์สระแก้ว
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 135 ⟶ 136:
[[หมวดหมู่:มหาวิทยาลัยราชภัฏ|วไลยอลงกรณ์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดปทุมธานี|ราชภัฏวไลยอลงกรณ์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร|ราชภัฏวไลยอลงกรณ์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดสระแก้ว|ราชภัฏวไลยอลงกรณ์]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ไทย|วไลยอลงกรณ์]]