ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อองซาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 91:
 
ธนบัตรจั๊ตพม่าตีพิมพ์ภาพของอองซานบนธนบัตรครั้งแรกในปี 1958 ราวสิบปีหลังเขาถูกฆาตกรรม หน้าของเขาปรากฏบนธนบัตรพม่าจนกระทั่งพม่าถูกระฐประหารโดยกองทัพ ตั้งแต่ปี 1988 เป็นต้นมา รูปของอองซานถูกแทนที่ด้วยภาพวิถีชีวิตพม่า เป็นไปได้ว่าเพื่อลดความนิยมของลูกสาวของอองซาน [[อองซานซูจี]] ซึ่งกำลังมีบทบาททางการเมืองต่อต้านการรัฐประหารและเผด็จการในเวลานั้น ในปี 2017 [[Assembly of the Union|รัฐสภาพม่า]]ลงคะแนนเสียง 286 ต่อ 107 เพื่อนำภาพของอองซานกลับมา โดยมีธนบัตร 1,000 จั๊ต ที่มีภาพของอองซานออกสู่สาธารณะอีกครั้งเมื่อ 4 มกราคม 2020 วันครบรอบ[[Independence Day (Myanmar)|การได้รับเอกราช]]<ref>Zaw</ref>
 
==ครอบครัว==
ขณะอองซานดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีการรบในปี 1942 เขาพบและสมรสกับ [[Khin Kyi]] ทั้งคู่มีลูกด้วยกันสี่คน หลังอองซานถูกสังหาร ภรรยาหม้ายของเขาได้รับแต่งตั้งเป็นทูตพม่าประจำอินเดีย และจากนั้นครอบครัวก็ย้ายออกจากพม่า<ref>Rogers 27</ref> ลูกคนที่อายุน้อยที่สุดที่มีชีวิตรอดคือ [[อองซานซูจี]] ขณะเกิดเหตุลอบสังหารอองซาน เธออายุเพียงสองขวบเท่านั้น<ref>Thant 333</ref> ต่อมาอองซานซูจีได้ก้าวเข้าสู่การเมืองพม่าและเป็นบุคคลสำคัญในการเมืองพม่าจนกระทั่งเธอถูกรัฐประหารในปี 2021
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
===บรรณานุกรม===
*[https://www.bbc.com/news/world-asia-38974455 "North Korea's History of Foreign Assassinations and Kidnappings"]. ''[[BBC News]]''. 14 February 2017. Retrieved 19 September 2020.
*Houtman, Gustaaf. [https://web.archive.org/web/20080228011308/http://ghoutman.googlepages.com/houtmanAung-sanslan-zintheblueprinta.pdf "Aung San’s Lan-Zin, the Blue Print and the Japanese Occupation of Burma"]. In Kei Nemoto (ed). ''Reconsidering the Japanese military occupation in Burma (1942–45)''. Tokyo: Tokyo University of Foreign Studies. Research Institute for Languages and Cultures of Asia and Africa (ILCAA). 30 May 2007. pp.&nbsp;179–227. {{ISBN|978-4-87297-9640}}, Retrieved 23 August 2020.
*[[Bertil Lintner|Lintner, Bertil]]. ''The Rise and Fall of the Communist Party of Burma''. Cornell Southeast Asia Program Publication. 1990
*Lintner, Bertil. ''Burma in Revolt: Opium and Insurgency Since 1948''. Chiang Mai, Thaiand: Silkworm Books. 2003.
*[[Maung Maung]]. ''Aung San of Burma''. The Hague: Martinus Nijhoff for Yale University. 1962.
*Rogers, Benedict. ''Burma: A Nationa at a Crossroads''. Great Britain: Random House. 2012.
*Smith, Martin. ''Burma: Insurgency and the Politics of Ethnicity.'' London and New Jersey: Zed Books. 1991.
*South, Ashley. ''Ethnic Politics in Burma: States of Conflict''. New York, NY: Routelage. 2009.
*Stewart, Whitney. ''Aung San Suu Kyi: Fearless Voice of Burma''. Twenty-First Century Books. 1997. {{ISBN|978-0-8225-4931-4}}
*[[Thant Myint-U]]. ''The River of Lost Footsteps: A Personal History of Burma''. London: Faber and Faber Limited. 2008.
*Ye Mon and Myat Nyein Aye. [https://www.mmtimes.com/national-news/yangon/20910-martyrs-mausoleum-gets-an-upgrade.html "Martyr's Mausoleum Gets and Upgrade"]. ''Myanmar Times''. 17 June 2016. Retrieved 14 November 2020.
*Zaw Zaw Htwe. [https://www.irrawaddy.com/news/burma/gen-aung-san-returns-myanmar-banknotes-30-year-absence.html "Gen. Aung San Returns to Myanmar Banknotes After 30-Year Absence"]. ''The Irrawaddy''. 7 January 2020. Retrieved 7 September 2020.
 
{{19 กรกฎาคม}}
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อองซาน"