ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยง ภู่วรวรรณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎บทบาทช่วงสถานการณ์โควิด-19: แปะป้ายไม่เป็นกลาง
→‎บทบาทช่วงสถานการณ์โควิด-19: ย้ายไปหน้าพูดคุย
บรรทัด 46:
วันที่ 2 มีนาคม 2564 เขาได้เผยแพร่ความเห็นว่า วัคซีนเชื้อตายเช่นซิโนแวคสามารถป้องกันไวรัสข้ามสายพันธุ์ได้ดีกว่า เนื่องจากทำมาจากไวรัสทั้งตัว ไม่ใช่ทำจากแค่ส่วนหนามของไวรัส<ref>{{Cite web|date=2021-03-02|title='หมอยง' ชี้ วัคซีน 'ซิโนแวค' วัคซีนเชื้อตาย ป้องกันได้ดีกว่า โดยเฉพาะการข้ามสายพันธุ์ไวรัส|url=https://siamrath.co.th/n/224224|website=สยามรัฐ|language=th}}</ref> อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาที่เปิดเผยตั้งแต่ปลายปี 2560 พบว่าวัคซีนแบบ mRNA สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้มากกว่า<ref>{{Cite web|title=How does a mRNA vaccine compare to a traditional vaccine? {{!}} Vanderbilt Institute for Infection, Immunology and Inflammation|url=https://www.vumc.org/viiii/infographics/how-does-mrna-vaccine-compare-traditional-vaccine|website=www.vumc.org}}</ref> และในเดือนกรกฎาคม 2564 รัฐบาลจีนและมหาวิทยาลัยฮ่องกงได้ลงความเห็นว่าวัคซีนแบบ mRNA สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ดีกว่า และตัดสินใจใช้วัคซีนแบบ mRNA เป็นการกระตุ้นเข็มที่ 3<ref>{{Cite web|date=2021-07-16|title=จีนเตรียมฉีดวัคซีน mRNA จาก BioNTech เป็นวัคซีนเข็มที่ 3 หลังมีประสิทธิภาพต้านเชื้อกลายพันธ์ุได้ดีกว่าวัคซีนเชื้อตาย|url=https://thestandard.co/china-3rd-vaccine-by-pfizer-biontech/|website=THE STANDARD|language=th}}</ref>
วันที่ 11 เมษายน 2564 เขายืนยันว่า ไม่ว่าจะเป็นวัคซีนชนิดใด รวมถึงวัคซีนซิโนแวค ก็สามารถป้องกันการเสียชีวิตได้ 100%<ref>{{Cite web|title=“หมอยง” เปิดข้อมูลประสิทธิภาพวัคซีนโควิดทั่วโลก “แอสตราเซเนกา- ซิโนแวค” ได้ผลป้องกันโรค ลดเสียชีวิตจริง!|url=https://www.hfocus.org/content/2021/04/21385|website=Hfocus.org เจาะลึกระบบสุขภาพ|language=th}}</ref> อย่างไรก็ตามในเดือนมิถุนายน 2564 เดือนเดียว มีแพทย์และพยาบาลอินโดนีเซียเสียชีวิตจากโควิด-19 มากกว่า 131 คน ทั้งที่ได้รับการฉีดวัคซีนซิโนแวคแล้วจำนวน 2 เข็ม<ref>{{Cite web|date=2021-07-07|title=COVID infections imperil Indonesia's vaccinated health workers, and hospitals|url=https://www.reuters.com/world/asia-pacific/covid-infections-imperil-indonesias-vaccinated-health-workers-hospitals-2021-07-07/|website=Reuters}}</ref>  &nbsp;จนถึง 6 กรกฎาคม 2564 มีบุคลากรทางการแพทย์ของอินโดนีเซียเสียชีวิตจากโควิด-19 เป็นจำนวน 1,031 ราย โดยส่วนใหญ่ได้รับการฉีดวัคซีนซิโนแวค<ref>{{Cite news|last=IANS|date=2021-07-06|title=1,031 Indonesian medical workers die from Covid since onset of pandemic|work=Business Standard India|url=https://www.business-standard.com/article/current-affairs/1-031-indonesian-medical-workers-die-from-covid-since-onset-of-pandemic-121070600264_1.html|access-date=2021-07-17}}</ref> ซึ่งในจำนวนผู้เสียชีวิตนี้ยังรวมถึงดร.โนวาเลีย ชาฟารี บัคเทีย หัวหน้าทีมผู้ผลิตวัคซีนซิโนแวคเองของประเทศอินโดนีเซีย<ref>{{Cite web|last=Reuters|first=Story by|title=Lead Sinovac vaccine scientist in Indonesia dies of suspected Covid-19, media say|url=https://www.cnn.com/2021/07/08/asia/sinovac-scientist-indonesia-dies-intl-hnk/index.html|website=CNN}}</ref>
 
ในประเทศไทย มีผู้เสียชีวิตเพราะการฉีดวัคซีนซิโนแวคเข็มแรกและเข็มที่สองเป็นจำนวน 51 คน และมีผู้ที่แพ้วัคซีนซิโนแวคทั้งเข็มแรกและเข็มที่สองรุนแรงจนต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นจำนวน 1,188 คน<ref>{{Cite news|last=Limited|first=Bangkok Post Public Company|title=Dept reports 103 post-jab deaths in total|work=Bangkok Post|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/general/2138031/dept-reports-103-post-jab-deaths-in-total|access-date=2021-07-17}}</ref>
 
วันที่ 13 กรกฎาคม 2564 ยงได้ยืนยันว่าการฉีดวัคซีนซิโนแวคสลับกับแอสตราเซเนกาไม่เป็นปัญหาแน่นอน โดยอ้างตัวอย่างการฉีดวัคซีนในเด็กว่า ผู้ปกครองเด็กก็ไม่ทราบเช่นกันว่าวัคซีนที่ฉีดป้องกันคอตีบ, ไอกรน, บาดทะยัก, หรืออื่นๆ ที่ให้แก่บุตรหลานในแต่ละปี เป็นยี่ห้ออะไร และไวรัสหรือแบคทีเรียต่างๆ ก็คงไม่รู้ว่าวัคซีนที่ฉีดไปเป็นยี่ห้ออะไร<ref>{{Cite web|title=หมอยง แจงปมสลับวัคซีนซิโนแวค-แอสตร้าเซนเนก้า ลั่นไวรัสไม่รู้หรอกเป็นยี่ห้อไหน|url=https://www.sanook.com/news/8411078/|website=www.sanook.com/news|language=th}}</ref> อย่างไรก็ตาม ข้อเท็จจริงสำคัญคือวัคซีนป้องกันโรคต่างๆ ที่ฉีดให้เด็ก ถึงแม้จะเป็นต่างยี่ห้อกัน แต่วัคซีนทุกยี่ห้อเป็นวัคซีนชนิดเดียวกัน กล่าวเช่น วัคซีนโปลิโอทุกยี่ห้อล้วนเป็นชนิดเชื้อตาย (inactivated vaccine) เช่นเดียวกัน หรือวัคซีนคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ทุกยี่ห้อล้วนเป็นชนิดที่ทำมาจากส่วนย่อยของไวรัสหรือแบคทีเรีย (subunit approach) เช่นเดียวกันหมด<ref>https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2021/20210316-covid19-vaccine-handbook.pdf</ref> ในทางตรงกันข้าม การผสมวัคซีนชนิดเชื้อตายกับชนิดที่ใช้ไวรัสอื่นเป็นพาหะ เช่นซิโนแวคกับแอสตร้าเซเนก้า ยังไม่เคยมีการใช้ในเด็กหรือผู้ใหญ่มาก่อน และยังได้รับการเตือนโดยองค์การอนามัยโลกว่าอาจไม่ปลอดภัย<ref>{{Cite web|last=Pafun|date=2021-07-13|title=องค์การอนามัยโลก เตือนเรื่องฉีดวัคซีนผสม หวั่นคนตัดสินใจเอง|url=https://www.prachachat.net/world-news/news-712509|website=ประชาชาติธุรกิจ|language=th}}</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==