ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนาคามี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Heuristics (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{พุทธศาสนา}} '''อนาคามี''' แปลว่า ''ผู้ไม่มาสู่กามธาตุอีก'' หมายความ...
 
Kitinon (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มสังโยชน์เบื้องสูง
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
'''อนาคามี''' แปลว่า ''ผู้ไม่มาสู่กามธาตุเกิดอีก'' หมายความว่าจะไม่กลับมาเกิดในโลกนี้กามาวจรภพอีก แต่จะเกิดใน [[ปรินิพพานพรหมโลก]]คือดับ[[กิเลส]]ได้เด็ดขาดในภพที่เกิด อีกเพียงครั้งเดียว แล้วจะนิพพานจากพรหมโลกนั้นเลย
 
'''อนาคามี''' เป็นชื่อเรียกพระ[[อริยบุคคล]]ที่บำเพ็ญเพียรจนได้บรรลุอนาคามิผล แต่ยังเป็น[[เสขะ]] คือยังต้องศึกษาบำเพ็ญเพียรต่อไปอีกจนกว่าจะได้บรรลุ[[อรหัต]]ตผล
 
'''อนาคามี''' เป็นผู้ละ[[สังโยชน์]]ระดับต่ำ 3 อย่างได้เหมือน[[โสดาบัน]]แล้ว และยังละเพิ่มได้อีก 2 อย่างคือ[[กามราคะ]]และปฏิฆะ
 
'''อนาคามี''' เมื่อสิ้นชีวิตแล้วจะไปเกิดใน[[พรหมโลก]]ชั้นอวิหา ชั้นอตัปปา ชั้นสุทัสสา ชั้นสุทัสสี และชั้นอกนิฏฐา เพราะเป็นภูมิที่อยู่ของพระอนาคามีแล้วปรินิพพานในพรหมโลกนั้นเลย
 
'''อนาคามี''' เป็นชื่อเรียกพระอริยบุคคลประเภทที่ ๓ ใน ๔ ประเภท คือ [[โสดาบัน]] [[สกทาคามี]] อนาคามี [[อรหันต์]] เป็นผู้ละ[[สังโยชน์]]เบื้องต่ำ (โอรัมภาคิยสังโยชน์) ทั้ง ๕ ประการได้แล้ว ยังเหลือสังโยชน์เบื้องสูง (อุทธัมภาคิยสังโยชน์) อีก ๕ ประการ คือ
# รูปราคะ หมายถึง ความพอใจในรูปฌาน หรือ รูปธรรมอันประณีต หรือ ความพอใจในรูปภพ
# อรูปราคะ หมายถึง ความพอใจในรูปฌาน หรือ พอใจในอรูปธรรม เช่น ความรู้ เป็นต้น หรือ ความพอใจในอรูปภพ
# มานะ หมายถึง ความสำคัญตนว่าเป็นนั่นเป็นนี่ เช่น เป็นพระอนาคามี(แม้ว่าจะเป็นจริงๆ) เป็นต้น
# อุทธัจจะ คือ ความฟุ้งของจิต
# อวิชชา คือ ความไม่รู้แจ้ง
อนึ่งพึงเข้าใจว่า แม้สังโยชน์เบื้องสูงบางข้อจะมีชื่อเหมือนกิเลสอย่างหยาบที่ยังมีในปถุชน (ผู้ยังไม่เป็นบรรลุเป็นพระอริยบุคคล) เช่น มานะ อุทธัจจะ หรือ อวิชชา แต่สังโยชน์เบื้องสูงอันเป็นกิเลสที่ยังหลงเหลืออยู่ในจิตใจของพระอนาคามีนั้น เป็นกิเลสที่ละเอียดกว่าของปถุชนอย่างมาก
 
==อ้างอิง==