ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วาสตุศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไข error ในอ้างอิง
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:Hindu temple Spire design principle concentric circles squares Vastu Purusa Mandala without label.svg|thumb|แผนผังการสร้างยอดหอคอยตามวาสตุศาสตร์ ดังที่ที่พบในการสร้างหอ[[โคปุรัม]] [[ศิขร]] [[วิมาน (องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม)|วิมาน]]]]
{{about|คัมภีร์ในศาสนาฮินดู|สาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์|วัสดุศาสตร์}}
 
'''วาสตุศาสตร์''' ({{lang-sa|वास्तुशास्त्र}} ''Vāstu śāstra'') หรือ '''วัสดุศาสตร์''' หมายถึงระบบการวางแผนทางสถาปัตยกรรมแบบฮินดู<ref>{{cite book|last1=Quack|first1=Johannes|title=Disenchanting India: Organized Rationalism and Criticism of Religion in India|date=2012|publisher=Oxford University Press|page=119|url=https://books.google.co.in/books?id=TNbxUwhS5RUC&lpg=PA170&pg=PA119#v=onepage&q&f=false|accessdate=17 August 2015}}</ref> ซึ่งแปลตรงตัวว่า "ศาสตร์แห่งสถาปัตยกรรม" วาสตุศาสตร์เป็นเอกสารที่พบใน[[อนุทวีปอินเดีย]]อันอธิบายถึงหลักในการออกแบบ โครงสร้าง การจัดวางองค์ประกอบ การเตรียมพื้นที่ การจัดแบ่งพื้นที่โล่ง และ เรขาคณิตเชิงพื้นที่<ref>{{Cite web|url=http://www.vastukarta.com/principles_of_vastu.php|title=GOLDEN PRINCIPLES OF VASTU SHASTRA Vastukarta|website=www.vastukarta.com|access-date=2016-05-08}}</ref> วาสตุศาสตร์พบทั่วไปในคติของศาสนาฮินดู แต่ก็พบในศาสนาพุทธเช่นกัน<ref>{{cite book|title=Vastushastra|first=Vijaya |last=Kumar|publisher=New Dawn/Sterling|year=2002|isbn=978-81-207-2199-9|page= 5}}</ref> เป้าหมายในการออกแบบแบบวาสตุศาสตร์คือการผสมผสานสถาปัตยกรรมเข้ากับธรรมชาติ การใช้งานที่เชื่อมโยงกันระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ และการใช้แบบแผนเรขาคณิตแบบโบราณ ({{Interlanguage link|ยันตร์|en|Yantra}}) หรือ[[มณฑล]]มาผสมผสาน