ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การมีลักษณะเด่น (ภาษาศาสตร์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ymrttw (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1:
'''การมีลักษณะเด่น'''<ref>{{Cite book|url=https://www.worldcat.org/oclc/1201694777|title=พจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ทั่วไป) ฉบับราชบัณฑิตยสภา|date=|publisher=สำนักงานราชบัณฑิตยสภา|others=|year=2017|isbn=978-616-389-060-3|edition=|location=กรุงเทพฯ|pages=273|oclc=1201694777}}</ref> หรือ '''ความแปลกเด่น'''<ref>{{Cite journal|last=ธนศักดิ์ ศิริคะเณรัตน์|first=|date=2012|title=รูปแบบการออกเสียงพยัญชนะท้ายนาสิกในภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย|url=https://so02.tci-thaijo.org/index.php/japanese/article/view/13737|journal=วารสารญี่ปุ่นศึกษา|language=|volume=29|issue=1|pages=47–59|issn=0125-6416}}</ref> ({{lang-en|markedness}}) ในทาง[[ภาษาศาสตร์]] หมายถึง สภาพหรือสภาวะที่โดดเด่นในแง่ของความไม่เป็นแบบแผนหรือแตกต่างออกไปเมื่อเทียบกับสิ่งที่ธรรมดาหรือสามัญกว่า เช่น ในทาง[[สัทวิทยา]] เสียง {{IPA|[t]}} (เสียงกัก ฐานปุ่มเหงือก) เป็นเสียงที่พบในแทบทุกภาษา แต่เสียง {{IPA|[x]}} (เสียงเสียดแทรก ฐานเพดานอ่อน) พบได้น้อยเมื่อเทียบกับเสียง {{IPA|[t]}} เท่ากับว่าเสียง {{IPA|[t]}} มีความเรียบง่ายกว่าเสียง {{IPA|[x]}} หรือพูดอีกอย่างว่าเสียง {{IPA|[x]}} มีความแปลกเด่นเมื่อเทียบกับเสียง {{IPA|[t]}}
 
== อ้างอิง ==