ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรากฏการณ์ทินดอลล์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supasate (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: thumb|[[แป้งที่แขวนลอยในน้ำ ดูเป็นสีฟ้าเนื่...
 
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:WaterAndFlourSuspensionLiquid.jpg|thumb|[[แป้ง]]ที่แขวนลอยใน[[น้ำ]] ดูเป็นสีฟ้าเนื่องจากแสงที่กระเจิงมาถึงผู้ดู และ[[สเปกตรัมมองเห็นได้|แสงสีฟ้า]]กระเจิงจากอนุภาคแป้งมากกว่า[[สเปกตรัมมองเห็นได้|แสงสีแดง]]]]
 
 
'''ปรากฏการณ์ทินดอลล์''' ({{lang-en|Tyndall effect}}) คือปรากฎการณ์[[การกระเจิง]]แสงในสาร[[คอลลอยด์]] หรือ[[สารแขวนลอย]]ที่มีอนุภาคเล็กมาก ปรากฏการณ์ทินดอลล์ มีส่วนคล้ายกับ[[ปรากฏการณ์เรย์ลี]]ตรงที่ความเข้มของแสงที่กระเจิงแปรผกผันกับความยาวคลื่นยกกำลังสี่ ดังนั้น แสงสีฟ้าจึงกระเจิงมากกว่าแสงสีแดงเป็นอย่างมาก ตัวอย่างในชีวิตประจำวันได้แก่ ควันจากรถ[[จักรยานยนต์]]โดยเฉพาะในจักรยานยนต์สองสูบซึ่งมีน้ำมันเครื่องที่เผาไหม้เป็นอนุภาคข้างต้น