ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การลงคะแนนระบบคู่ขนาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 7:
 
==วิธีการ==
ในระบบสมาชิกเสริมซึ่งคู่ขนานอันเป็นรูปแบบนึ่งของ[[ระบบการลงคะแนนแบบกึ่งสัดส่วน]] โดยจะมีที่นั่งส่วนหนึ่งในสภาที่มาจากการเลือกตั้งในระบบคะแนนนำแบบแบ่งเขตซึ่งมีผู้แทนเขตละคน ส่วนที่เหลือของสภานั้นมาจากระบบบัญชีรายชื่อ ซึ่งแต่ละพรรคการเมืองจะต้องได้รับคะแนนเสียงถึงโควตาจำนวนหนึ่ง โดยปกติแล้วกำหนดเป็นจำนวนร้อยละไม่มาก เพื่อที่จะได้สัดส่วนของที่นั่งจากคะแนนเสียงฝั่งบัญชีรายชื่อโดยคล้ายคลึงคล้ายกับระบบสัดส่วนอื่น ๆอื่นๆ ที่นั่งบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองจะได้รับการจัดสรรให้ตามลำดับผู้สมัครในบัญชีรายชื่อ<ref name=rc33>Royal Commission on Electoral Systems (1986), ''Report of the Royal Commission on the Electoral System: towards a better democracy'', Wellington N.Z.: Government Printing, pg. 33.</ref>
 
ต่างจาก[[การให้มีผู้แทนแบบจัดสรรปันส่วนผสม|ระบบสัดส่วนผสม]] ซึ่งพรรคการเมืองจะได้ที่นั่งทั้งหมดในสภาตามสัดส่วนที่ได้จากคะแนนเสียงทั้งหมดจากการลงคะแนน ส่วนในระบบสมาชิกเสริมคู่ขนานนั้นจะจำกัดความเป็นสัดส่วนแค่จากในบัญชีรายชื่อเท่านั้น ดังนั้น พรรคการเมืองที่สามารถได้คะแนนเสียงร้อยละ 5 จะได้ที่นั่งเพียงแค่จำนวนร้อยละ 5 จากแบบบัญชีรายชื่อ แต่ไม่มิใช่ร้อยละ 5 ของทั้งที่นั่งทั้งหมดในสภาดั่งกรณีของ[[การให้มีผู้แทนแบบจัดสรรปันส่วนผสม|ระบบสัดส่วนผสม]]
 
สัดส่วนของที่นั่งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อเปรียบเทียบกับที่นั่งทั้งหมดในสภานั้นขึ้นอยู่กับประเทศนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น [[เกาหลีใต้]] ร้อยละ 18.7, [[ไต้หวัน]] ร้อยละ 37.5, [[ญี่ปุ่น]] ร้อยละ 37.5 และ[[อาร์มีเนีย]] ร้อยละ 68.7<ref>Reynolds et al (2008), ''Electoral System Design: The New International IDEA Handbook'', Sweden: International Institute for Democracy and Electoral Assistance, pg. 104</ref>
 
==ข้อดีและข้อเสีย==