ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิธีเหลือเศษสูงสุด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระบบการลงคะแนน}}
'''วิธีเหลือเศษสูงสุด''' ({{lang-en|The largest remainder method}}) หรือเรียกอีกอย่างว่า วิธีแฮร์-นีเมเยอร์ วิธีแฮมิลตัน หรือวิธีวินตัน เป็นวิธีการคำนวนคำนวณที่นั่งของผู้แทนตาม[[ระบบสัดส่วน]]สำหรับ[[สภานิติบัญญัติ]]ที่ใช้[[ระบบการลงคะแนน]][[การเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ|แบบบัญชีรายชื่อ]] โดยเป็นวิธีที่ตรงกันข้ามกับ[[วิธีค่าเฉลี่ยสูงสุด]] ({{lang-en|The highest averageaverages method}})
 
'''วิธีเหลือเศษสูงสุด''' ({{lang-en|The largest remainder method}}) หรือเรียกอีกอย่างว่า วิธีแฮร์-นีเมเยอร์ วิธีแฮมิลตัน หรือวิธีวินตัน เป็นวิธีการคำนวนที่นั่งของผู้แทนตาม[[ระบบสัดส่วน]]สำหรับ[[สภานิติบัญญัติ]]ที่ใช้[[ระบบการลงคะแนน]][[การเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ|แบบบัญชีรายชื่อ]] โดยเป็นวิธีที่ตรงกันข้ามกับ[[วิธีค่าเฉลี่ยสูงสุด]] ({{lang-en|The highest average method}})
 
==วิธีการ==
ใน ''วิธีเหลือเศษสูงสุด'' นั้นใช้จำนวนคะแนนเสียงที่แต่ละ[[พรรคการเมือง]]ได้รับจากผู้ลงคะแนนและหารกับโควต้าโควตาที่เท่ากับจำนวนผลคะแนนที่ต้องการต่อหนึ่งที่นั่ง (ปกติใช้จำนวนคะแนนเสียงทั้งหมดของผู้ลงคะแนนหารโดยจำนวนที่นั่งที่มี หรือสูตรใกล้เคียง) ผลลัพธ์จากการคำนวนคำนวณจะประกอบด้วยเลขจำนวนเต็มและเศษทศนิยม โดยในแต่ละพรรคการเมืองจะได้รับการจัดสรรที่นั่งเท่ากับเลขจำนวนเต็มก่อน โดยจะเหลือที่นั่งว่างอยู่ในสภาที่ยังไม่มีผู้แทน โดยจัดสรรที่นั่งเหลือนี้จากเศษทศนิยมที่เหลือจากการคำนวนคำนวณข้างต้น และพรรคการเมืองใดๆใด ๆ ที่มีเศษสูงที่สุดจะได้ที่นั่งไปก่อนโดยเรียงจากมากไปน้อยจนเติมได้ครบทุกที่นั่ง ซึ่งเป็นที่มาของชื่อวิธีการคำนวนคำนวณ
 
==สูตรการคำนวนคำนวณและโควต้าโควตา==
วิธีการคำนวนคำนวณหาโควต้าโควตามีหลายวิธี โดยวิธีที่ใช้กันบ่อยที่สุดคือ [[โควต้าโควตาแฮร์]] (Hare quota) และ[[โควต้าโควตาดรูป]] (Droop quota) การใช้งานโควต้าโควตาประเภทใดประเภทหนึ่งในวิธีเหลือเศษสูงสุดนั้นสามารถเรียกย่อได้เป็น "LR-[ชื่อโควต้าโควตา]" อาทิเช่น "LR-Droop"<ref>{{Cite book|last1=Gallagher|first1=Michael|url=https://books.google.com/books?id=Igdj1P4vBwMC|title=The Politics of Electoral Systems|last2=Mitchell|first2=Paul|date=2005-09-15|publisher=OUP Oxford|isbn=978-0-19-153151-4|language=en}}</ref>
 
วิธีการคำนวนด้วยคำนวณด้วย[[โควต้าโควตาแฮร์]] (หรือ วิธีอย่างง่าย) เป็นดังนี้
:<math>\frac{\text{total votes}}{\text{total seats}}</math>
ในปัจจุบันใช้โควต้าโควตาแฮร์ในการเลือกตั้งใน[[รัสเซีย]] (ด้วยคะแนนเสียงขั้นต่ำร้อยละ 5 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2016 เป็นต้นมา) [[ยูเครน]] [[ตูนีเซียตูนิเซีย]]<ref name=tunisiaElectLaw>{{cite book|title=Proposed Basic Law on Elections and Referendums - Tunisia (Non-official translation to English)|date=26 January 2014|publisher=[[International Institute for Democracy and Electoral Assistance|International IDEA]]|page=25|url=http://aceproject.org/ero-en/regions/africa/TN/tunisia-organic-law-on-elections-and-referenda/at_download/file|access-date=9 August 2015|chapter=2}}</ref> [[ไต้หวัน]] (คะแนนเสียงขั้นต่ำร้อยละ 5) [[นามิเบีย]] และ[[ฮ่องกง]] โดยหากใช้โควต้าโควตาแฮร์ในการคำนวนในคำนวณใน[[วิธีค่าเฉลี่ยสูงสุด]] จะเรียกว่า '''การแบ่งสันปันส่วนด้วยวิธีแฮมิลตัน''' (Hamilton method of apportionment) ซึ่งตั้งชื่อตาม[[อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน]] ผู้คิดค้น[[วิธีค่าเฉลี่ยสูงสุด]]ในปี ค.ศ. 1792<ref>{{Cite book| publisher = Springer| last = Eerik Lagerspetz| title = Social Choice and Democratic Values| series = Studies in Choice and Welfare| date = 26 November 2015| isbn = 9783319232614| access-date = 2017-08-17| url = https://books.google.com/books?id=RNcLCwAAQBAJ&q=alexander+hamilton+invented+the+largest+remainder+method&pg=PA130}}</ref> โดยใช้วิธีนี้ในการแบ่งสัดส่วน[[สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ]] ในทุกๆทุก ๆ 10 ปี ระหว่างปี ค.ศ. 1852 - 1852–1990
 
[[โควต้าโควตาดรูป]] คือส่วน[[เลขจำนวนเต็ม]]ของ
:<math>1+\frac{\text{total votes}}{1+\text{total seats}}</math>
และใช้กับการเลือกตั้งใน[[แอฟริกาใต้]] ส่วน[[โควต้าโควตาฮาเกินบัค-บิชฮอฟชช็อฟ]]นั้นคล้ายกัน คือ
:<math>\frac{\text{total votes}}{1+\text{total seats}}</math>
โดยจะใช้แบบมีเลขทศนิยม หรือแบบปัดเศษก็ได้
 
โควต้าโควตาแฮร์นั้นมักจะเป็นประโยชน์แก่พรรคการเมืองที่ได้รับความนิยมน้อย ส่วนโควต้าโควตาดรูปนั้นเป็นประโยชน์แก่พรรคการเมืองยอดนิยมมากกว่า<ref>http://www.parl.gc.ca/Content/LOP/researchpublications/bp334-e.pdf</ref><ref>{{cite web |url=http://polmeth.wustl.edu/polanalysis/vol/8/PA84-381-388.pdf |title=Archived copy |access-date=2006-09-01 |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20060901090418/http://polmeth.wustl.edu/polanalysis/vol/8/PA84-381-388.pdf |archive-date=2006-09-01 }}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.dur.ac.uk/john.ashworth/EPCS/Papers/Suojanen.pdf |title=Archived copy |access-date=2007-09-26 |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20070926202329/http://www.dur.ac.uk/john.ashworth/EPCS/Papers/Suojanen.pdf |archive-date=2007-09-26 }}</ref><ref>{{cite web |url=http://users.ox.ac.uk/~sann2300/041102-ceg-electoral-consequences-lijphart.shtml |title=Archived copy |access-date=2006-05-16 |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20060516204603/http://users.ox.ac.uk/~sann2300/041102-ceg-electoral-consequences-lijphart.shtml |archive-date=2006-05-16 }}</ref><ref>http://janda.org/c24/Readings/Lijphart/Lijphart.html</ref> ซึ่งหมายความโควต้าโควตาแฮร์นั้นเมื่อพิจารณาแล้วน่าจะมีความเป็นสัดส่วนมากกว่าโควต้าโควตาดรูป อย่างไรก็ตาม จากตัวอย่างการคำนวนคำนวณในบางกรณีนั้น โควต้าโควตาแฮร์ไม่สามารถรับรองได้ว่าพรรคการเมืองที่มีคะแนนเสียงข้างมากนั้นจะสามารถกวาดที่นั่งได้อย่างน้อยครึ่งหนึ่งได้ (ซึ่งในโควตาดรูปยิ่งเป็นไปได้ยากเช่นกัน)
 
==ตัวอย่าง==
ตัวอย่างต่อไปนี้สมมติสมมุติจากการเลือกตั้งเพื่อหาผู้แทน 10 ที่นั่ง โดยมีคะแนนเสียงรวมทั้งสิ้น 100,000 คะแนน
 
===โควต้าโควตาแฮร์===
{| class="wikitable"
|-
เส้น 54 ⟶ 53:
|}
 
===โควต้าโควตาดรูป===
{| class="wikitable"
|-
เส้น 65 ⟶ 64:
| || || || || || ||10+1=11
|-
! โควต้าโควตาดรูป
| || || || || || ||9,091
|-
เส้น 85 ⟶ 84:
 
===เปรียบเทียบ===
ใน[[วิธีเหลือเศษสูงสุด]]มีข้อดีคือผู้ลงคะแนนสามารถทำความเข้าใจได้ง่าย โควต้าโควตาแฮร์ช่วยให้พรรคการเมืองที่เล็กกว่าได้เปรียบกว่า ในขณะที่โควต้าโควตาดรูปช่วยพรรคการเมืองใหญ่กว่า<ref>See for example the [[2012 Hong Kong legislative election#Geographical constituencies (35 seats)|2012 election in Hong Kong Island]] where the DAB ran as two lists and gained twice as many seats as the single-list Civic despite receiving fewer votes in total: [https://www.nytimes.com/2012/09/11/world/asia/hong-kong-voting-for-legislature-is-heavy.html?pagewanted=all New York Times report]</ref> อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าพรรคจะได้ที่นั่งเพิ่มจากเศษที่เหลือหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับการแบ่งสรรปันส่วนคะแนนเสียงที่เหลือกับพรรคการเมืองอื่นๆอื่น ๆ โดยมีความเป็นไปได้ที่พรรคการเมืองที่ได้คะแนนเสียงมากกว่าเพียงนิดเดียวแต่เสียไปหนึ่งที่นั่งหากคะแนนเสียงของพรรคการเมืองอื่นเปลี่ยนตามไปด้วย ลักษณะเฉพาะของวิธีนี้คือเมื่อมีจำนวนที่นั่งมากขึ้นอาจทำให้[[พรรคการเมือง]]เสียที่นั่งไปหนึ่งที่นั่งได้ (เรียกกันว่า ปฏิทรรศน์อัลบามา) [[วิธีค่าเฉลี่ยสูงสุด]]มีข้อดีคือช่วยไม่ให้เกิดเหตุการณ์นี้ขึ้น แต่ในการแบ่งสันปันส่วนนั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยที่จะปราศจากปฏิทรรศน์โดยสิ้นเชิง<ref>
{{cite book |title=Fair Representation: Meeting the Ideal of One Man, One Vote |last=Balinski |first=Michel |author2=H. Peyton Young |year=1982 |publisher=Yale Univ Pr |isbn=0-300-02724-9 |url-access=registration |url=https://archive.org/details/fairrepresentati00bali }}</ref>
 
{{clr}}
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}