ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบบัตรลงคะแนนหลายรอบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระบบการลงคะแนน}}
 
'''ระบบบัตรลงคะแนนหลายรอบ''' ({{lang-en|Exhaustiveexhaustive ballot}}) เป็น[[ระบบการลงคะแนน]]ที่ใช้เลือกผู้ชนะเพียงรายเดียว โดยในระบบบัตรลงคะแนนหลายรอบนี้ผู้ลงคะแนนเสียงเดียวเพื่อเลือกผู้สมัครโดยปกติ อย่างไรก็ตามหากไม่มีผู้สมัครรายใดได้คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด ผู้สมัครรายที่ได้คะแนนน้อยที่สุดจะตกรอบและจะมีการลงคะแนนในรอบถัดไป โดยกระบวนการนี้จะทำซ้ำจนกว่าจะได้ผู้สมัครที่ได้คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด
 
ระบบบัตรลงคะแนนหลายรอบนี้มีความคล้ายคลึงกับ[[ระบบสองรอบ]]โดยแตกต่างเพียงแค่ประเด็นหลักๆหลัก ๆ เท่านั้น ในระบบสองรอบนั้นหากไม่มีผู้สมัครรายใดได้คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาดในรอบแรกนั้น จะเลือกเพียงแค่ผู้สมัครสองรายที่มีคะแนนสูงสุดเพื่อเข้าแข่งขันในรอบที่สอง (รอบตัดสิน) โดยในรอบที่สองผู้ชนะคือผู้ที่ได้คะแนนเสียงข้างมาก ส่วนในระบบบัตรลงคะแนนหลายรอบนี้มีการกำจัดผู้สมัครเพียงรอบละหนึ่งคนดังนั้นจะต้องทำกระบวนการเดิมซ้ำๆซ้ำ ๆ จนกว่าจะได้ผู้สมัครที่มีคะแนนเสียงข้างมาก (ในบางสถานการณ์นั้น ผู้สมัครมากกว่าสองรายอาจจะตกรอบพร้อมกันได้หากเมื่อนำคะแนนเสียงทุกคนรวมกันแล้วได้น้อยกว่าผู้สมัครลำดับที่สูงขึ้นถัดไป โดยการ "การกำจัดหมู่" นั้นไม่สามารถเปลี่ยนแปลงลำดับของการกำจัดผู้สมัครได้ไม่เหมือนในระบบสองรอบ)
 
เนื่องจากระบบนี้จำเป็นจะต้องให้ผู้ลงคะแนนลงคะแนนเสียงหลายครั้งจึงไม่เหมาะกับการใช้ในการเลือกตั้งขนาดใหญ่ โดยมากนิยมใช้ในการเลือกตั้งที่มีผู้ลงคะแนนเพียงหลักร้อยคน อาทิเช่น การเลือกนายกรัฐมนตรี หรือการเลือกประธานสภา ในปัจจุบันใช้ระบบนี้ในรูปแบบแตกต่างกันไปเพื่อเลือกตั้ง[[คณะมนตรีแห่งสมาพันธรัฐสวิส]] [[มุขมนตรีแห่งสกอตแลนด์]] [[ประธานรัฐสภายุโรป]] และประธาน[[สภาสามัญชนแห่งแคนาดา]] [[สภาสามัญชนสหราชอาณาจักร]] และรัฐสภาสกอตแลนด์ การคัดเลือกเมืองเจ้าภาพ[[กีฬาโอลิมปิก]] และ[[ฟุตบอลโลก]]]
 
==การลงคะแนนและการนับคะแนน==
บรรทัด 14:
 
===แบบย่อย===
* การบังคับให้ใช้เกณฑ์คะแนนเสียงข้างมากพิเศษ (สองในสาม) ในการเลือกผู้ชนะนั้น สามารถกระทำได้ทั้งในรอบแรกๆแรก ๆ หรือทุกรอบทั้งหมดเลยก็ได้ ตัวอย่างเช่น ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีอิตาลี ในรอบแรกๆแรก ๆ นั้นใช้คะแนนเสียงข้างมากพิเศษ และในรอบที่สี่เป็นต้นไปลดเกณฑ์ลงเพียงแค่เกณฑ์คะแนนเสียงข้างมากธรรมดา
* ในบางแบบย่อยของระบบนี้ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวในการกำจัดผู้สมัครออกในแต่ละรอบ โดยปกติผู้สมัครจะเป็นฝ่ายถอนตัวเองโดยอาสา
* ในบางแบบย่อยจะค่อยๆค่อย ๆ เพิ่มเกณฑ์ขั้นต่ำในการกำจัดผู้สมัครออกในแต่ละรอบเพื่อความรอมชอม ตัวอย่างเช่น ในการคัดเลือกตัวผู้สมัครวุฒิสมาชิกสหรัฐของพรรคประชาธิปัตย์-ชาวนา-แรงงานแห่งมินิโซตามินนิโซตา ในปี ค.ศ. 2008 นั้นใช้ระบบบัตรลงคะแนนหลายรอบโดยมีกฎในการปรับตกรอบเริ่มที่ร้อยละ 5 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 25 หลังจากรอบที่ 5 และหลังจากนั้นผู้สมัครรายใดที่มีคะแนนเสียงน้อยที่สุดจะถูกกำจัดออกจนกว่าจะเหลือเพียงสองคน<ref>[http://www.dfl.org/vertical/Sites/%7BC04B0B6A-109E-4F2D-A1B2-C92EC337D546%7D/uploads/%7B10452095-72DC-44D5-8768-91AD4D24B51B%7D.PDF DFL Call 2008/2009] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080221010034/http://dfl.org/vertical/Sites/%7BC04B0B6A-109E-4F2D-A1B2-C92EC337D546%7D/uploads/%7B10452095-72DC-44D5-8768-91AD4D24B51B%7D.PDF |date=2008-02-21 }} Page 27: VIII. Endorsement for U.S. Senate: 22. GENERAL ENDORSEMENT RULES:
:* '''Dropoff rule''': ''Candidates receiving less than 5% will be dropped after the first ballot. On subsequent ballots, the dropoff threshold will be raised by 5% each ballot to a maximum of 25%. After the fifth ballot and each subsequent ballot, the lowest remaining candidates will be dropped so that no more than two candidates remain. In the event that application of the dropoff rule would eliminate all but one candidate, then the two candidates who received the highest percent of the vote on the prior ballot shall be the remaining candidates.''</ref>
* อีกแบบย่อยที่กำจัดผู้สมัครมากกว่าหนึ่งรายในแต่ละรอบ ตัวอย่างเช่น ในการเลือกตั้งประธานสภาสามัญชนแห่งแคนาดา และสหราชอาณาจักรนั้นผู้สมัครรายใดที่ได้คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 5 ในรอบแรกนั้นจะถือว่าตกรอบทันที
บรรทัด 23:
[[Image:Tennessee map for voting example.svg|right|500px|Tennessee's four cities are spread throughout the state]]
 
สมมติว่าประชากรใน[[รัฐเทนเนสซี]]ของสหรัฐนั้นออกเสียงเลือก[[เมืองหลวง]]สำหรับรัฐใหม่ โดยประชากรนั้นหนาแน่นอยู่รอบๆรอบ ๆ เมืองหลักทั้งสี่เมืองซึ่งอยู่คนละด้านของรัฐ ในตัวอย่างนี้ให้สมมติว่า[[เขตเลือกตั้ง]]ทั้งหมดนั้นอยู่ในเขตเมืองทั้งสี่ และประชากรทั้งหมดต้องการให้เมืองหลวงอยู่ใกล้กับเมืองของพวกเขามากที่สุด
 
ผู้สมัครชิงตำแหน่งเมืองหลวงของ[[รัฐเทนเนสซี]]ได้แก่