ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โควตาดรูป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระบบการลงคะแนน}}
 
'''โควตาดรูป''' ({{lang-en|Droop quota}}) เป็นโควตาที่ใช้กันทั่วไปสำหรับ[[ระบบการลงคะแนน]][[การเลือกตั้งแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง|แบบถ่ายโอนคะแนนเสียง]] (STV) นอกจากนี้ยังใช้กันในการเลือกตั้ง[[ระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อ]]ซึ่งใช้[[วิธีเหลือเศษสูงสุด]]ในการคำนวนคำนวณจำนวนที่นั่งที่ได้รับ
 
ใน[[การเลือกตั้งแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง]] (STV) โควตาคือจำนวนคะแนนเสียงขั้นต่ำที่ผู้สมัครแต่ละรายจะต้องได้รับจึงจะได้รับเลือกตั้ง คะแนนเสียงส่วนที่เกินจากโควตาจะถูกถ่ายโอนไปให้ผู้สมัครรายอื่นตามที่ระบุไว้ในบัตรเลือกตั้ง โควตาดรูปคิดค้นขึ้นในปี ค.ศ. 1868 โดยทนายความและนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ [[เฮนรี ริชมอนด์ ดรูป]] (ค.ศ. 1831 – ค.ศ. 1831–1884) ทนายความและนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ เพื่อมาใช้ทดแทน[[โควตาแฮร์]]
 
ในปัจจุบันโควตาดรูปใช้กันอย่างแพร่หลายใน[[การเลือกตั้งแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง]]ส่วนใหญ่เกือบทั้งหมด รวมถึงการเลือกตั้งแบบอื่นๆอื่น ๆ ที่อยู่ในขอบเขตของการถ่ายโอนคะแนนเสียง ซึ่งใช้ใน[[อินเดีย]] [[ไอร์แลนด์]] [[ไอร์แลนด์เหนือ]] [[มอลตา]] และ[[ออสเตรเลีย]] เป็นต้น
 
[[โควตาดรูป]]มีความคล้ายคลึงกับ[[โควตาฮาเกินบัค-บิชช็อฟ]] ซึ่งมีความเรียบง่ายกว่าในการคำนวนคำนวณ ซึ่งในบางกรณีจึงถูกเหมารวมว่าเป็นโควตาดรูปไปโดยปริยาย
 
==การคำนวนคำนวณ==
การคำนวนคำนวณที่แน่ชัดของ[[โควตาดรูป]]นั้นมีหลายแหล่ง ในสูตรคำนวนคำนวณต่อไปนี้นำมาจากสาธารณรัฐประเทศไอร์แลนด์
 
<math display="block">\left \lfloor \frac{\text{total valid poll}}{ \text{seats}+1 } \right \rfloor + 1</math>
บรรทัด 23:
[[โควตาดรูป]]นั้นคือจำนวนที่น้อยที่สุดซึ่งสามารถรับรองได้ว่าจะไม่มีจำนวนผู้สมัครจะได้รับคะแนนถึงโควตาเกินกว่าจำนวนที่นั่งที่มีอยู่ ซึ่งเป็นคุณสมบัติพิเศษของโควตานี้ ในการเลือกตั้งแบบที่หาผู้ชนะเพียงคนเดียว ซึ่งในกรณีของ[[ระบบถ่ายโอนคะแนนเสียง]]นี้จะกลายเป็น[[การลงคะแนนแบบหลายรอบในทันที|แบบหลายรอบในทันที]] (Instant run-off) โดยปริยาย และโควตาดรูปจะเท่ากับจำนวน[[คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด]]
 
สูตรคำนวนคำนวณนั้นคิดตามความต้องการเฉพาะที่จะต้องให้จำนวนคะแนนเสียงที่ของเหล่าผู้ชนะการเลือกตั้งได้รับนั้นจะต้องมากกว่าคะแนนเสียงทั้งหมดที่เหลืออยู่ที่ผู้สมัครที่เหลือได้รับ (โควตาดรูป – 1)
 
==ตัวอย่าง==
บรรทัด 43:
|}
 
มีผู้ลงคะแนนทั้งหมดรวม 102 คน แต่สองคนนั้นเป็นบัตรเสียจึงสามารถนำบัตรลงคะแนนมานับได้เพียงแค่บัตรดีจำนวน 100 ใบ โดยมีผู้แทนจำนวน 2 ที่นั่ง โควตาดรูปจึงคำนวนคำนวณได้ผลลัพธ์ดังนี้
 
:<math> \frac{100}{2+1} + 1 = 34 \frac{1}{3} </math>
บรรทัด 52:
* แบรด 30 คะแนน
 
ในการนับครั้งแรก แอนเดรียซึ่งมีคะแนนเสียงรวม 45 คะแนน ซึ่งถือว่าเกินโควตาที่คำนวนคำนวณมาได้ที่ 34 คะแนน จึงชนะการเลือกตั้งไปรายแรก โดยแอนเดรียมีคะแนนเสียงส่วนเกินจากโควตาจำนวน 11 คะแนน และในบัตรลงคะแนนทั้งหมดที่เลือกแอนเดรียนั้นเลือกคาร์เตอร์เป็นลำดับถัดไปทั้งหมด ดังนั้นคะแนนเสียงส่วนเกิน 11 คะแนนจะถูกถ่ายโอนไปให้คาร์เตอร์ ในรอบที่สองผลรวมคะแนนสำหรับผู้สมัครแต่ละคนเป็นดังนี้
* คาร์เตอร์ 36 คะแนน
* แบรด 30 คะแนน