ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าฟ้ามงกุฎ (พระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
}}
 
'''เจ้าฟ้ามงกุฎ'''<ref name="ประดู่">คำให้การขุนหลวง วัดประดู่ทรงธรรม, ''ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง'', หน้า 285</ref> เป็นพระราชธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] กับ[[เจ้าฟ้าสังวาลย์]] พระองค์เป็นพระขนิษฐาร่วมพระชนกชนนีกับ[[เจ้าฟ้ากุณฑล]] และเป็นพระขนิษฐาต่างพระมารดาของ[[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์]] โดยเจ้าฟ้ามงกุฎได้ทรงพระราชนิพนธ์ ''[[อิเหนา]]'' (อิเหนาเล็ก) โดยดัดแปลงจากนิทานอิง[[พงศาวดารชวา]]<ref name="สิรินธร">{{cite web |url= http://www.sac.or.th/databases/thailitdir/detail.php?meta_id=296 |title= บทละครเรื่อง อิเหนา |author=|date=|work= ฐานข้อมูลนามานุกรมวรรณคดีไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร |publisher=|accessdate= 4 กรกฎาคม 2561}}</ref>
 
== พระประวัติ ==
เจ้าฟ้ามงกุฎเป็นพระราชธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] ประสูติแต่[[เจ้าฟ้าสังวาลย์]]พระมเหสีฝ่ายซ้าย<ref name="ประดู่"/> ''[[คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม]]'' ระบุว่าเจ้าฟ้ากุณฑลมีพระเชษฐภคินี พระเชษฐา และพระอนุชาได้แก่ [[เจ้าฟ้ากุณฑล]] เจ้าฟ้าอาภรณ์ และเจ้าฟ้าสังคีต<ref>คำให้การขุนหลวง วัดประดู่ทรงธรรม, ''ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง'', หน้า 286</ref> ส่วน "บาญชีพระนามเจ้านาย" ที่มีอยู่ใน ''[[คำให้การชาวกรุงเก่า]]'' มิได้ระบุพระนามของพระองค์ แต่ระบุพระนามของพระเชษฐภคินี และพระเชษฐา คือ เจ้าฟ้าขวันตง (คือเจ้าฟ้ากุณฑล) และเจ้าฟ้าอัมพร (คือเจ้าฟ้าอาภรณ์)<ref name="บัญชี">คำให้การชาวกรุงเก่า, ''ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง'', หน้า 175</ref>
 
เจ้าฟ้ามงกุฎและเจ้าฟ้ากุณฑลพระพี่นาง มักจะฟัง[[นิทาน]][[ปรัมปรา]]หรือเรื่องเล่าจากยายยะโว (ยะโวคือคำว่ายาวอหรือยะวาแปลว่า[[ชาวชวา]]) นางพระกำนัลซึ่งเป็นเชลยจาก[[จังหวัดปัตตานี|เมืองปัตตานี]]<ref name="ประพนธ์">''บุหงาปัตตานี คติชนมุสลิมชายแดนภาคใต้'', หน้า 174-175</ref> ซึ่งยายยะโวได้เล่านิทานอิง[[พงศาวดารชวา]]ถวายเจ้าฟ้าทั้งสอง เจ้าฟ้ากุณฑลจึงทรงพระราชนิพนธ์บทละคร ''[[ดาหลัง]]'' หรืออิเหนาใหญ่ ส่วนเจ้าฟ้ามงกุฎจึงทรงพระราชนิพนธ์บทละคร ''[[อิเหนา|อิเหนาเล็ก]]'' มาตั้งแต่นั้น<ref name="สิรินธร"/> ซึ่งคำชวาและมลายูที่ปรากฏมักลงท้ายด้วยเสียงสูงอันแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลจากผู้เล่าที่มีสำเนียงใต้เป็นสำคัญ<ref name="ประพนธ์"/> หลัง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]] ต้นฉบับของวรรณคดีก็สูญหายไปบางส่วน<ref>{{cite web |url= https://www.matichon.co.th/entertainment/news_835072 |title= เมื่อนักประวัติศาสตร์ตั้งคำถาม: “วงศาวิทยาของอิเหนา” กับความท้าทายประวัติวรรณคดีไทย |author=|date= 11 กุมภาพันธ์ 2561 |work= มติชนออนไลน์ |publisher=|accessdate= 4 กรกฎาคม 2561}}</ref> เจ้าฟ้ามงกุฎและเจ้าฟ้ากุณฑลถูกกวาดต้อนไปยังกรุง[[อังวะ]] ในขณะที่ทั้งสองพระองค์นิราศในต่างแดน ก็ทรงเผยแพร่นาฏศิลป์อย่างอยุธยาให้แก่ราชสำนักพม่า และส่งอิทธิพลตกทอดถึงนาฏศิลป์พม่าในยุคปัจจุบัน<ref name="โยทยา">{{cite web |url= https://www.dailynews.co.th/article/595131 |title= 'เพลงโยทยา' นาฏศิลป์อิงเมือง อีกจิตวิญญาณอยุธยาในเมียนมา |author= ศิริโรจน์ ศิริแพทย์ |date= 31 สิงหาคม 2560 |work= เดลินิวส์ |publisher= |accessdate= 19 กรกฎาคม 2561}}</ref>
 
หลังการสถาปนา[[กรุงรัตนโกสินทร์]]ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]ซึ่งเป็นยุคฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม พระองค์จึงทรงรวบรวมบทละครเรื่อง ''ดาหลัง'' และ ''อิเหนาเล็ก'' พระราชนิพนธ์เดิมของเจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎมาเรียบเรียงใหม่<ref name="สิรินธร"/> โดยมีเนื้อหาในพระราชนิพนธ์ ''[[อิเหนา]]'' ฉบับรัชกาลที่ 1 อธิบายไว้ความว่า<ref>{{cite web |url= http://e-shann.com/?p=12000 |title= กลอนบทละคร (๒) |author= ทองแถม นาถจำนง |date=|work= ทางอีศาน |publisher=|accessdate= 4 กรกฎาคม 2561}}</ref>
 
{{บทกวี|indent=1