ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NSMThailand (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pattarakorn (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
บรรทัด 3:
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ 2
|ชื่อหน่วยงาน = องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
|ชื่อในภาษาแม่_1 = National Science Museum Thailand
|ชื่อในภาษาแม่_2 =
|ชื่อในภาษาแม่_ท =
บรรทัด 12:
|ตรา_กว้าง = 150px
|ตรา_บรรยาย =
|วันก่อตั้ง = [[พ.ศ.วันที่ 253330 มกราคม 2538]] ({{อายุ|25332538|1|130}} ปี)
|ผู้ก่อตั้ง =
|สืบทอดจาก_1 =
บรรทัด 23:
|สืบทอดโดย =
|เขตอำนาจ =
|กองบัญชาการ = "สำนักงานใหญ่" <br> เทคโนธานี ตำบลคลองห้า [[อำเภอคลองหลวง]] [[จังหวัดปทุมธานี]] 12120<br> "[[เดอะสตรีทจัตุรัสวิทยาศาสตร์ อพวช. ]]" <br> 139 อาคารเดอะสตรีท รัชดา ชั้น 5 [[ถนนรัชดาภิเษก]] แขวงดินแดง [[เขตดินแดง]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10400
|latd= |latm= |lats= |latNS=
|longd= |longm= |longs= |longEW=
บรรทัด 51:
|หัวหน้า1_ชื่อ = ผศ.ดร.รวิน ระวิวงศ์
|หัวหน้า1_ตำแหน่ง = ผู้อำนวยการ
|หัวหน้า2_ชื่อ = นางกรรณิการ์ วงศ์ทองศิริเฉิน
|หัวหน้า2_ตำแหน่ง = รองผู้อำนวยการ
|หัวหน้า3_ชื่อ = อภิญาณ์นายสุวรงค์ หทัยธรรมวงษ์ศิริ
|หัวหน้า3_ตำแหน่ง = รองผู้อำนวยการ
|หัวหน้า4_ชื่อ = สุวรงค์นายชนินทร วงษ์ศิริวรรณวิจิตร
|หัวหน้า4_ตำแหน่ง = รองผู้อำนวยการ
|หัวหน้า5_ชื่อ =
บรรทัด 94:
}}
 
'''องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ''' (อพวช.หรือ NSM) มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัด [[กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม]] ตั้งอยู่จัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ เมื่อวันที่ เทคโนธานี30 ต.คลองห้ามกราคม [[อ.คลองหลวง]]2538 [[จ.ปทุมธานี]] บริเวณเป็นองค์กรที่ตั้งนี้ก่อตั้งขึ้นเพื่อมีหน้าที่รับผิดชอบในการพัฒนาและจัดการพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และศูนย์การเรียนรู้ต่างๆ ประกอบด้วยอาคาร 3 หลัง ได้แก่ อาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์มหาราชินี (อาคารรูปลูกบาศก์ซึ่งที่เรียกกันติดปากคือ '''ตึกลูกเต๋า'''{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}) อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา กับอาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีและสารสนเทศ พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า ซึ่งพิพิธภัณฑ์ทั้งหมดตั้งอยู่ ณ เทคโนธานี ถนนเลียบคลองห้า ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
 
== '''ประวัติความเป็นมา''' ==
 
เมื่อปี [[พ.ศ. 2533]] คณะรัฐมนตรีมีมติให้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ขั้นโดยให้กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงการและรับผิดชอบงาน ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2534]] ได้รับอนุมัติให้จัดโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ|สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] เนื่องในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๓๕ กำหนดกรอบงบประมาณโครงการ 650 ล้านบาทและเริ่มก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ในปี [[พ.ศ. 2537]] จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2538]] ได้มีพระราชกำหนดจัดตั้งองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ (อพวช.) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ [[30 มกราคม]] [[พ.ศ. 2538]] โดยพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ เปิดให้เข้าชมอย่างเป็นทางการ ในวันที่ [[8 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2543]] <ref>[http://www.most.go.th/main/index.php/about-us/structural-units/state-enterprise/nsm.html กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]</ref>
บรรทัด 110:
ปี พ.ศ. 2564 ได้มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จัตุรัสวิทยาศาสตร์ เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งแห่ง มีพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมต่างๆ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประมาณ 3,000 ตารางเมตร ตั้งอยู่ที่ชั้น 5 อาคารเดอะสตรีท รัชดา ซึ่งได้เปิดให้เข้าชมตั้งแต่ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564
 
== พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์<ref>{{Cite web|last=Thailand|first=Museum|title=พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ อพวช. :: Museum Thailand|url=https://www.museumthailand.com/th/museum/NSM-Science-Museum|website=www.museumthailand.com}}</ref> ==
== การจัดแสดง ==
* อาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์มหาราชินี เป็นอาคารอาคารหลักมีรูปทรงลูกบาศก์ 3 ลูกเชื่อมติดกันมี 6 ชั้น มีพื้นที่จัดแสดงประมาณ 10,000 ตารางเมตร มีการจัดแสดงเป็นเนื้อหาต่างๆ ในแต่ละชั้น เช่น นิทรรศการหมุนเวียน ประวัติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย พลังงาน วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน และภูมิปัญญาไทย
** ชั้นที่ 1 ส่วนต้อนรับ นักวิทยาศาสตร์รุ่นบุกเบิก ห้องอินเทอร์เน็ต การศึกษา และนิทรรศการหมุนเวียน
** ชั้นที่ 2 ประวัติการค้นพบและการประดิษฐทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
บรรทัด 118:
** ชั้นที่ 5 ร่างกายของเรา การคมนาคม คุณภาพชีวิต วิทยาศาสตร์ในบ้าน และอนาคต
** ชั้นที่ 6 เทคโนโลยีภูมิปัญญาไทย
* อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา มีเนื้อที่ 3,000 ตารางเมตร ส่วนที่จัดแสดงอยู่บนชั้น 1 ของอาคาร มีเนื้อหาหลักคือ การกำเนิดและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต การแบ่งประเภท เป็นอาณาจักรของแบคทีเรีย เห็ดรา พืช ฯลฯ นอกจากนั้นยังมีพื้นที่เก็บตัวอย่างทางธรรมชาติวิทยาที่หลากหลาย
* อาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีและสารสนเทศ มีเนื้อที่ 9,300 ตารางเมตร มีเนื้อหาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสาร การคำนวณ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน
 
== พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา<ref>{{Cite web|last=Thailand|first=Museum|title=พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา อพวช. :: Museum Thailand|url=https://www.museumthailand.com/th/museum/Natural-History-Museum-2|website=www.museumthailand.com}}</ref> ==
<gallery>
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเปิดให้บริการในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการศึกษาวิจัยด้านธรรมชาติวิทยาของประเทศไทยและประเทศใกล้เคียง และยังเป็นศูนย์จัดแสดงนิทรรศการความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งนำเสนอตั้งแต่การกำเนิดโลก สู่กำเนิดสรรพสิ่งและสิ่งมีชีวิต ที่ล้วนผ่านกระบวนการวิวัฒนาการมานานและยังคงดำเนินเช่นนี้ต่อไป เพื่อดำรงไว้ซึ่งความหลากหลาย พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา เป็นอาคาร 2 ชั้น ขนาดพื้นที่ประมาณ 3,000 ตารางเมตร จัดแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่
ไฟล์:NSM1.jpg|อาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
ไฟล์:NSM2-interior.jpg|การจัดแสดงภายในอาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
ไฟล์:20181228 IT Information Museum.jpg|อาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีและสารสนเทศ
ไฟล์:20181228 Inside ITMuseum.jpg|การจัดแสดงภายในอาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีและสารสนเทศ
 
* ส่วนสำนักงาน ประกอบด้วย ห้องทำงาน ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด ห้องควบคุม และอื่นๆ พื้นที่รวม 236 ตารางเมตร
</gallery>
 
* ส่วนแสดงนิทรรศการ ประกอบด้วยส่วนแสดงนิทรรศการถาวร 1,000 ตารางเมตร ส่วนแสดงนิทรรศการหมุนเวียน และห้องแสดงนิทรรศการ น.พ. บุญส่งเลขะกุล พื้นที่ 574 ตารางเมตร พื้นที่รวมจัดแสดง 1,574 ตารางเมตร
 
การจัดแสดงนิทรรศการ ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงหลัก 4 ส่วน  ได้แก่
 
'''ส่วนที่ 1'''  การกำเนิดโลก
 
'''ส่วนที่ 2''' การกำเนิดสิ่งมีชีวิต
 
'''ส่วนที่ 3''' วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
'''ส่วนที่ 4''' ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
* คลังเก็บวัสดุตัวอย่าง ประกอบด้วยคลังเก็บวัสดุตัวอย่างแห้ง และคลังเก็บวัสดุตัวอย่างเปียก พื้นที่ 1,200 ตารางเมตร วัสดุตัวอย่างเริ่มต้นจากการบริจาคตัวอย่างนกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจากครอบครัวนายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล และตัวอย่างปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ต่อมาจึงได้เก็บตัวอย่างพืชและสัตว์ทุกชนิดต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน
 
== พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ<ref>{{Cite web|last=Thailand|first=Museum|title=พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ อพวช. :: Museum Thailand|url=https://www.museumthailand.com/th/museum/Information-Technology-Museum-2|website=www.museumthailand.com}}</ref> ==
พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศเปิดให้บริการในปีพ.ศ. ๒๕๕๕ เพื่อให้บริการความรู้ และให้เห็นถึงประโยชน์ ความสำคัญของเทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศต่อการดำรงชีวิตประจำวันและการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการที่เล่าเรื่องราววิวัฒนาการของเทคโนโลยีการสือสารนับตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนถึงยุคปัจจุบัน  และเบื้องหลังวิวัฒนาการทั้งหมดคือ ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์นั่นเอง  ซึ่งทั้งหมดนี้ถูกนำเสนอด้วยเทคนิค แสง สี เสียง อันทันสมัย ประกอบชิ้นงาน เครื่องเล่นทางวิทยาศาสตร์  สื่อประสมเชิงตอบโต้ เสริมด้วยกิจกรรมการเรียนรู้หลายประเภท  เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ไปกับการเรียนรู้ ภายในพิพิธภัณฑ์ การจัดแสดงนิทรรศการ ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงหลัก 6 ส่วน  ได้แก่
 
'''ส่วนที่ 1'''  ประตูสู่วิวัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
'''ส่วนที่ 2''' การสื่อสารยุคก่อนประวัติศาสตร์
 
'''ส่วนที่ 3''' การสื่อสารยุคอิเล็กทรอนิกส์
 
'''ส่วนที่ 4''' การคำนวณ
 
'''ส่วนที่ 5''' คอมพิวเตอร์
 
'''ส่วนที่ 6''' เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
 
== พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า<ref>{{Cite web|last=Thailand|first=Museum|title=พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า อพวช. :: Museum Thailand|url=https://www.museumthailand.com/th/museum/Rama9-Museum|website=www.museumthailand.com}}</ref> ==
เนื่องในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 อพวช. ได้รับความเห็นชอบให้ “โครงการพิพิธภัณฑ์พระรามเก้า” เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อแสดงให้เห็นหลักการคิด วิธีการทรงงานและกระบวนการค้นหาคำตอบ ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่ทรงนำไปแก้ปัญหาหรือพระราชทานแก่พสกนิกรในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักร ตลอดจนเป็นแบบอย่างแก่ผู้สนใจชาวต่างประเทศ และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านความเข้าใจในความสำคัญและปัญหาของระบบนิเวศ การบริหารจัดการทรัพยากรดิน น้ำ ป่า เพื่อให้มนุษย์อยู่ร่วมกับระบบนิเวศธรรมชาติอย่างยั่งยืน
 
พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า จึงเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของประชาชนชาวไทยอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง ในการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนัก ในบทบาทความสัมพันธ์ของระบบนิเวศที่สำคัญของโลกและของประเทศไทย อันจะนำไปสู่การมีจิตสำนึกในการรักษา อนุรักษ์ระบบนิเวศ และเตรียมรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างรู้เท่าทัน ตามแนวคิดและวิธีการทรงงานต้นแบบจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
 
การจัดแสดงนิทรรศการ ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงหลัก 6 ส่วน  ได้แก่
 
'''ส่วนที่ 1'''  โลกและการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
 
'''ส่วนที่ 2''' ระบบนิเวศและความหลากหลาย
 
'''ส่วนที่ 3''' การจัดการทรัพยากรน้ำ
 
'''ส่วนที่ 4''' การจัดการทรัพยากรดิน
 
'''ส่วนที่ 5''' หอเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
 
'''ส่วนที่ 6''' การจัดการทรัพยากรน้ำในภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก
 
== อ้างอิง ==