ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิธีโดนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''วิธีดงท์''' (D'Hondt method){{efn|{{IPAc-en|lang|d|ə|ˈ|h|ɒ|n|t}}; {{IPA-nl|ˈdɔnt|lang}}; {{IPA-fr|dɔ̃t|lang}} The name D'Hondt is sometimes spelt as "d'Hondt". Notably, it is customary in the [[Netherlands]] to write such surnames with a lowercase "d" when preceded by the forename: thus Victor d'Hondt (with a small ''d''), while the surname all by itself would be D'Hondt (with a capital ''D''). However, in [[Belgium]] it is always capitalized, hence: Victor D'Hondt.}} หรือ '''วิธีเจฟเฟอร์สัน''' (Jefferson method) เป็นวิธีคำนวนหา[[วิธีค่าเฉลี่ยสูงสุด|ค่าเฉลี่ยสูงสุด]]ซึ่งใช้ในการแบ่งที่นั่งใน[[ระบบการลงคะแนน]]และใช้ใน[[ระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อ]] ในสหรัฐเรียกวิธีนี้ตาม[[โธมัส เจฟเฟอร์สัน]]ซึ่งเป็นผู้ริเริ่มใช้วิธีแบ่งสรรปันส่วนที่นั่งใน[[สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ]]ในปีค.ศ. 1792 ส่วนในยุโรปนั้นเรียกตาม[[วิกตอร์ ดงท์]] (Victor D'Hondt) นักคณิตศาสตร์ชาวเบลเยียมผู้อธิบายหลักวิธีนี้ในปีค.ศ. 1878
 
ใน[[ระบบสัดส่วน]]นั้นตั้งใจให้มีการจัดแบ่งที่นั่งในสภาตามคะแนนเสียงที่แต่ละ[[พรรคการเมือง]]ได้รับ ตัวอย่างเช่น หากพรรคการเมืองชนะด้วยคะแนนเสียงหนึ่งในสามของคะแนนเสียงทั้งหมดดังนั้น[[พรรคการเมือง]]นั้นควรจะมีที่นั่งหนึ่งในสามของสภา โดยปกติแล้ว การจัดสัดส่วนให้พอดีนั้นเป็นไปได้ยากเนื่องจากการคำนวนออกมาจะที่นั่งที่เป็นเศษส่วน ดังนั้นจึงมีวิธีคิดหลายวิธี ซึ่งวิธีดงท์ ก็ถือเป็นหนึ่งในวิธีหลักที่ใช้ในการจัดสรรที่นั่งให้แต่ละ[[พรรคการเมือง]]โดยทำให้กลายเป็นเลขจำนวนเต็ม และยังคงความเป็นสัดส่วนให้ได้มากที่สุด<ref name="gallagher">{{cite journal |last=Gallagher |first=Michael |date=1991 |title=Proportionality, disproportionality and electoral systems |url=http://www.tcd.ie/Political_Science/staff/michael_gallagher/ElectoralStudies1991.pdf |journal=Electoral Studies |archive-url=https://web.archive.org/web/20131116104818/http://www.tcd.ie/Political_Science/staff/michael_gallagher/ElectoralStudies1991.pdf |archive-date=November 16, 2013|volume=10 |issue=1 |pages=33–51 |doi=10.1016/0261-3794(91)90004-C |access-date=30 January 2016}}</ref> หลักการของวิธีต่างๆ นั้นใช้การประมาณการให้เข้ากับความเป็นสัดส่วนให้ได้มากที่สุดโดยพยายามลดความไม่เป็นสัดส่วนออก ใน[[วิธีดงท์]]นั้นหลักการคือลดจำนวนคะแนนเสียงที่เหลือไว้เพื่อนำคะแนนเสียงส่วนที่เหลือนั้นจัดเป็นสัดส่วนได้ลงตัว ซึ่งมีเพียงแค่วิธีดงท์ (และวิธีอื่นๆ ที่เทียบเท่า) สามารถลดความไม่เป็นสัดส่วนลงได้<ref name="Medzihorsky2019">{{cite journal |author=Juraj Medzihorsky |title=Rethinking the D'Hondt method |journal=Political Research Exchange |volume=1 |issue=1 |pages=1625712 |year=2019 |doi=10.1080/2474736X.2019.1625712 |doi-access=free}}</ref> ในการวิจัยเชิงประจักษ์จากวิธีอื่นๆ นั้นกล่าวว่าจากแนวคิดสมัยใหม่แสดงให้เห็นว่าวิธีดงท์นั้นเป็นระบบที่เป็นสัดส่วนน้อยที่สุดในวิธีใกล้เคียงทั้งหมด เนื่องจากวิธีดงท์นั้นทำให้พรรคการเมืองขนาดใหญ่ (หรือกลุ่มพรรคการเมืองใหญ่) ได้เปรียบเหนือพรรคการเมืองขนาดเล็กจำนวนหลายๆ พรรค<ref>{{cite conference |first=Friedrich |last=Pukelsheim |title=Seat bias formulas in proportional representation systems |book-title=4th ECPR General Conference |url=http://www.essex.ac.uk/ecpr/events/generalconference/pisa/papers/PP996.pdf |archive-url=https://web.archive.org/web/20090207140906/http://www.essex.ac.uk/ecpr/events/generalconference/pisa/papers/PP996.pdf |archive-date=7 February 2009 |year=2007 }}</ref><ref>{{cite journal |last1=Schuster |first1=Karsten |last2=Pukelsheim |first2=Friedrich |last3=Drton |first3=Mathias |last4=Draper |first4=Norman R. |date=2003 |title=Seat biases of apportionment methods for proportional representation |url=http://www.math.uni-augsburg.de/stochastik/pukelsheim/2003b.pdf |journal=Electoral Studies |volume=22 |issue=4 |pages=651–676 |doi=10.1016/S0261-3794(02)00027-6 |access-date=2016-02-02 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160215162203/http://www.math.uni-augsburg.de/stochastik/pukelsheim/2003b.pdf |archive-date=2016-02-15 |url-status=dead }}</ref><ref>{{cite journal |last=Benoit |first=Kenneth |year=2000 |title=Which Electoral Formula Is the Most Proportional? A New Look with New Evidence |journal=Political Analysis |volume=8 |issue=4 |pages=381–388 |doi=10.1093/oxfordjournals.pan.a029822 |url=http://www.kenbenoit.net/pdfs/PA84-381-388.pdf |access-date=2016-02-11 |archive-url=https://web.archive.org/web/20180728202050/http://kenbenoit.net/pdfs/PA84-381-388.pdf |archive-date=2018-07-28 |url-status=dead }}</ref><ref>{{cite journal |last=Lijphart |first=Arend |year=1990 |title=The Political Consequences of Electoral Laws, 1945-85 |journal=The American Political Science Review |volume=84 |issue=2 |pages=481–496 |doi=10.2307/1963530|jstor=1963530 }}</ref> โดยเมื่อเปรียบเทียบกันกับ[[วิธีเวบส์เตอร์เวบสเตอร์/แซ็งต์ลากูว์]] หรือวิธีใช้ตัวหาร ลดความได้เปรียบของพรรคใหญ่ลง และช่วยพรรคขนาดกลางมากกว่าพรรคขนาดใหญ่กับพรรคขนาดเล็ก<ref>{{Cite encyclopedia|url=https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems#ref416872|title=Election - Plurality and majority systems|encyclopedia=Encyclopedia Britannica|access-date=2018-04-30|language=en}}</ref>
 
คุณสมบัติของวิธีดงท์จากการศึกษาแล้วพิสูจน์ได้ว่าวิธีดงท์นั้นมีความสม่ำเสมอ คงเส้นคงวา เสถียร และเป็นวิธีที่สมดุลซึ่งกระตุ้นให้เกิดการรวมพรรคการเมือง<ref>{{Cite journal|last1=Balinski |last2=Young|first1=M. L. |first2=H. P.|date=1978|title=The Jefferson method of Apportionment|url=http://pure.iiasa.ac.at/597/1/PP-76-006.pdf|journal=SIAM Rev|volume=20 |issue=2|pages=278–284 |doi=10.1137/1020040}}</ref><ref>{{Cite journal|last1=Balinski |last2=Young |first1=M. L. |first2=H. P. |date=1979 |title=Criteria for proportional representation |journal= [[Operations Research (journal)|Operations Research]] |volume=27 |pages=80–95 |doi=10.1287/opre.27.1.80|url=http://pure.iiasa.ac.at/525/1/RR-76-020.pdf }}</ref> โดยวิธีใดจะถือว่าสม่ำเสมอหรือไม่อยู่ตรงที่ว่าจะจัดการกับพรรคการเมืองที่ได้รับคะแนนเสียงเท่ากันอย่างไร ในเรื่องความคงเส้นคงวานั้นคือพรรคการเมืองจะไม่ได้ที่นั่งลดลงในกรณีที่ขนาดของสภาขยายใหญ่ขึ้น ส่วนประเด็นเรื่องความเสถียรนั้นกล่าวคือเมื่อพรรคการเมืองสองพรรครวมกันเป็นพรรคเดียวแล้วจะไม่ได้เปลี่ยนแปลงจำนวนที่นั่งจากเดิม ส่วนในเรื่องของการรวมพรรคการเมืองคือเมื่อใดที่มีการร่วมพันธมิตรกันจะไม่ทำให้เสียที่นั่งไป