ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิธีค่าเฉลี่ยสูงสุด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 8:
[[วิธีดงท์]] (D'Hondt method) ถูกนำมาใช้มากที่สุด โดยใช้ตัวหารเป็น 1, 2, 3, 4, เป็นต้น<ref name="gallagher">{{cite journal |last=Gallagher |first=Michael |date=1991 |title=Proportionality, disproportionality and electoral systems |url=http://www.tcd.ie/Political_Science/staff/michael_gallagher/ElectoralStudies1991.pdf |format=pdf |journal=Electoral Studies |volume=10 |issue=1 |doi=10.1016/0261-3794(91)90004-C |access-date=30 January 2016 |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20160304030108/https://www.tcd.ie/Political_Science/staff/michael_gallagher/ElectoralStudies1991.pdf |archive-date=4 March 2016 }}</ref> ในระบบนี้จะทำให้พรรคการเมืองขนาดใหญ่ได้จำนวนที่นั่งมากกว่าสัดส่วนผู้แทนจำนวนหนึ่ง และทำให้รับรองได้ว่าพรรคที่มีคะแนนเสียงข้างมากนั้นจะได้ที่นั่งอย่างน้อยครึ่งสภา
 
==วิธีเวบสเตอร์/แซ็งต์-ลากลากูว์==
[[วิธีเวบสเตอร์/แซ็งต์-ลากลากูว์]] (Webster/Sainte-Laguë method) ใช้การหารจำนวนคะแนนเสียงของแต่ละพรรคการเมืองด้วยเลขคี่ (1, 3, 5, 7 เป็นต้น) และในบางครั้งได้รับการพิจารณาว่ามีความเป็นสัดส่วนมากกว่าวิธีดงท์ในด้านของการเปรียบเทียบระหว่างจำนวนสัดส่วนของคะแนนเสียงของพรรคการเมืองต่อคะแนนเสียงทั้งหมดและการจัดสรรจำนวนที่นั่ง แต่สามารถทำให้พรรคการเมืองขนาดใหญ่ที่ได้รับคะแนนเสียงข้างมากนั้นได้รับที่นั่งน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของสภา ในระบบนี้ผู้ได้รับประโยชน์ส่วนใหญ่คือพรรคการเมืองขนาดเล็กมากกว่าพรรคใหญ่ และดังนั้นจึงทำให้มีจำนวนพรรคการเมืองมาก การใช้ตัวหารเป็นเลขทศนิยม เช่น 0.5, 1.5, 2.5, 3.5 ทำให้ได้ผลลัพธ์เดียวกัน
 
[[วิธีเวบสเตอร์/แซ็งต์-ลากลากูว์]]ในบางครั้งปรับแต่งใช้โดยการปรับตัวหารแรกเป็น 1.4 เป็นต้น เพื่อป้องกันไม่ให้พรรคการเมืองขนาดเล็กมากได้ที่นั่งแรกไปอย่างง่ายดายเกินไป
 
==อิมพิเรียลี==