ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พงศาวดารเขมร ฉบับนักองค์เอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''พงศาวดารเขมร ฉบับนักองค์เอง''' เป็น[[พงศาวดาร]]เขมรฉบับที่เก่าแก่ที่สุด<ref>วินัย พงศ์ศรีเพียร. งานเขียนทางประวัติศาสตร์ของเอเชยตะวันออกเฉียงใต้ : กลุ่มประเทศภาคพื้นทวีป. ใน ''รวมบทความประวัติศาสตร์''. ฉบับที่ 16 พ.ศ. 2537. หน้า 161.</ref> พงศาวดารฉบับนี้เรียบเรียงในสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์รามาธิบดีศรีสุริโยพรรณ]] (นักองค์เอง) หรือก่อนนั้น สมเด็จพระนารายณ์รามาธิบดีศรีสุริโยพรรณนำมาทูลเกล้าฯ ถวาย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]เมื่อ พ.ศ. 2339 แล้วจึงโปรดให้หลวงพจนาพิจิตร (เมือง) ขุนสารประเสริฐ ขุนมหาสิทธ นายชํานิโวหาร แปลเป็นภาษาไทย<ref>ศานติ ภักดีคำ. (2549) "ความนำ". ใน ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 12 (น. 44). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. {{isbn|9749528476}}.</ref> โดยออกชื่อว่า ''พระพงษาวะดาลเขมน ของเจ้ารามาธิบดีถวาย'' แต่คราวตีพิมพ์ในประชุมพงศาวดารภาคที่ 4 เมื่อ พ.ศ. 2458 นั้น ออกชื่อว่า ''พงษาวดารเมืองลแวก'' แต่ปัจจุบันต้นฉบับภาษาเขมรสูญหายไปแล้ว<ref>{{cite web |title=เอกสารกัมพูชากับการศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา |url=http://www.damrong-journal.su.ac.th/upload/pdf/69_9.pdf|author=ศานติ ภักดีคำ}}</ref>
ชํานิโวหาร แปลเป็นภาษาไทย ซึ่งน่าจะได้แก่ หลวงพจนาพิจิตร (เมือง) ที่ใน จ.ศ. 1164 (พ.ศ. 2345) ได้เลื่อนเป็นพระยากลาโหม<ref>ศานติ ภักดีคำ. (2549) "ความนำ". ใน ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 12 (น. 44). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. {{isbn|9749528476}}.</ref> โดยออกชื่อว่า ''พระพงษาวะดาลเขมน ของเจ้ารามาธิบดีถวาย'' แต่คราวตีพิมพ์ในประชุมพงศาวดารภาคที่ 4 เมื่อ พ.ศ. 2458 นั้น ออกชื่อว่า ''พงษาวดารเมืองลแวก'' แต่ปัจจุบันต้นฉบับภาษาเขมรสูญหายไปแล้ว<ref>{{cite web |title=เอกสารกัมพูชากับการศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา |url=http://www.damrong-journal.su.ac.th/upload/pdf/69_9.pdf|author=ศานติ ภักดีคำ}}</ref>
 
พงศาวดารเขมร ฉบับนักองค์เอง จับความตั้งแต่ มหาศักราช 1268 (จ.ศ. 708 หรือ พ.ศ. 1889) เมื่อ[[พระบรมนิพพานบท|สมเด็จพระมหานิภาร]]เสวยราชสมบัติในพระนครศรีโสทรราชธานี (กรุงยโศธรหรือนครธม) จนถึงแผ่นดิน[[พระศรีสุริโยไทยราชา|สมเด็จพระศรีโสไทย]]เสวยราชย์ ณ [[พระนครหลวง]] ครั้งนั้นสมเด็จพระศรีโสไทยนั้นมิไว้พระทัย[[พระธรรมราชาธิราชรามาธิบดี|เจ้าพญาธรรมราชา]]จะให้ฆ่าเสีย เจ้าพญาธรรมราชาก็หนีออกไปซ่องสุมผู้คนยกมารบได้พระนครหลวง สมเด็จพระศรีโสไทยก็หนีเข้ามายัง[[พระนครศรีอยุธยา]]<ref>{{cite web |title=พงศาวดารกัมพูชาที่แปลชำระและที่นิพนธ์เป็นภาษาไทยระหว่าง พ.ศ. 2339–2459 กับหน้าที่ที่มีต่อชนชั้นปกครองไทย (2002) |url=https://www.academia.edu/9193556/%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5_%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%8A%E0%B9%8D%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B5_%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%98_%E0%B9%80%E0%B8%9B_%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A7_%E0%B8%B2%E0%B8%87_%E0%B8%9E_%E0%B8%A8_2339_2459_%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%99_%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5_%E0%B8%97%E0%B8%B5_%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%95_%E0%B8%AD%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B1_%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2_2002_|author=ธิบดี บัวคำศรี}}</ref>