ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำเนียงโคราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: ภาษาไทยโคราช เป็นภาษาถิ่นไทยกลาง แต่สำเนียงค่อนข้าง เหน่อ ...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ภาษาไทยโคราช เป็นภาษาถิ่นไทยกลาง แต่สำเนียงค่อนข้าง เหน่อ ห้วนสั้น เกิ่นเสียง มีภาษาไทลาว(อีสาน)ปะปนบ้างเล็กน้อย และมีสำนวนที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่แตกต่างจากภาษาไทยกลางบ้าง มักใช้ไม้เอกแทนไม้โท เช่น โม่(โม้) เสื่อ (เสื้อ) เป็นต้น คำศัพท์รากศัพท์ทั่วไปตรงภาษาไทยกลาง
เป็นภาษาที่ใช้มากใน จังหวัดนครราชสีมา และบางส่วนของจังหวัด สระบุรี ลพบุรี เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ บุรีรัมย์ เป็นต้น
 
เป็นภาษาที่ใช้มากใน จังหวัดนครราชสีมา และบางส่วนของจังหวัด สระบุรี ลพบุรี เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ บุรีรัมย์ เป็นต้น
เชื่อกันว่าสาเหตุที่ภาษาไทยโคราชเพี้ยนไปจากภาษาไทยกลางบ้าง เพราะ บรรพบุรุษของชาวไทยโคราช พื้นเพอพยพมาจากอยุธยา และแถบจังหวัดชายทะเลตะวันออก ได้แก่ จันทบุรี ระยอง นครนายก เป็นต้น ต่อมาได้ผสมกลมกลืนกับกลุ่มไทยพื้นเมืองเดิม ซึ่งสันนิฐานว่าน่าจะเป็น ไท-เสียม หรือไทยสยามลุ่มน้ำมูล และกลุ่มชาวลาวอิสาน และเขมร ทำให้เกิดการผสมกันทางภาษา มีคำไทยลาว และเขมรปะปนบ้างเล็กน้อย เกิดเป็นสำเนียงโคราช ซึ่งแตกต่างจากภาษาถิ่นอิสานโดยทั่วไป แต่ยังคงรักษารากศัพท์เดิมไว้คือภาษาไทยกลาง นั่นเอง
 
เชื่อกันว่าสาเหตุที่ภาษาไทยโคราชเพี้ยนไปจากภาษาไทยกลางบ้าง เพราะ บรรพบุรุษของชาวไทยโคราช พื้นเพอพยพมาจากอยุธยา และแถบจังหวัดชายทะเลตะวันออก ได้แก่ จันทบุรี ระยอง นครนายก เป็นต้น ต่อมาได้ผสมกลมกลืนกับกลุ่มไทยพื้นเมืองเดิม ซึ่งสันนิฐานว่าน่าจะเป็น ไท-เสียม หรือไทยสยามลุ่มน้ำมูล และติดต่อกับกลุ่มชาวลาวอิสาน และเขมร ทำให้เกิดการผสมกันทางภาษา มีคำไทยลาว และเขมรปะปนบ้างเล็กน้อย เกิดเป็นสำเนียงโคราช ซึ่งแตกต่างจากภาษาถิ่นอิสานโดยทั่วไป แต่ยังคงรักษารากศัพท์เดิมไว้คือภาษาไทยกลาง นั่นเอง