ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Ratchadamnoen.png|thumb|แผนที่ถนนราชดำเนิน]]
 
'''ถนนราชดำเนิน'''เป็นถนนเก่าแก่สายประวัติศาสตร์สำคัญสายแห่งหนึ่งใน[[กรุงเทพมหานคร]] ประกอบด้วยถนนตัดผ่านพื้นที่เขตพระนคร 3เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตดุสิต เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2442 และแล้วเสร็จทั้งสายเมื่อ พ.ศ. ได้แก่2446
 
* '''ถนนราชดำเนินใน''' มีความยาวทั้งสิ้น 525 เมตร กว้าง 36 เมตร<ref name="streetdetail">[https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58498?src=%2Fbrowse%3Ftype%3Ddiscipline%26sort_by%3D2%26order%3DDESC%26rpp%3D20%26etal%3D-1%26value%3D%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%2596%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A1%26offset%3D20%26brw_total%3D119%26brw_pos%3D24 อิทธิพลของงานภูมิทัศน์เมืองในทวีปยุโรป ที่มีผลต่อภูมิทัศน์เมืองบางกอกในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5]. (2559). วิทยานิพนธ์ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.</ref> อยู่ในพื้นที่[[เกาะรัตนโกสินทร์]]ชั้นใน คือแขวงพระบรมมหาราชวัง [[เขตพระนคร]] เริ่มจาก[[ถนนหน้าพระลาน]] เป็นแนวถนนต่อจาก[[ถนนสนามไชย]] เลียบ[[ท้องสนามหลวง]]ฝั่งตะวันออกขึ้นไปทางทิศเหนือ และสิ้นสุดที่[[สะพานผ่านพิภพลีลา]]ซึ่งเป็นสะพานข้าม[[คลองคูเมืองเดิม]]
* '''ถนนราชดำเนินกลาง''' มีความยาวทั้งสิ้น 1,200 เมตร กว้าง 58 เมตร<ref name="streetdetail"></ref> อยู่ในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ชั้นนอก เริ่มจากสะพานผ่านพิภพลีลา ไปทางทิศตะวันออก เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงตลาดยอดกับแขวงบวรนิเวศในพื้นที่เขตพระนคร ไปจนตัดกับ[[ถนนตะนาว]]ที่[[แยกคอกวัว]] จากนั้นมุ่งหน้าไปทางทิศเดิมผ่าน[[อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย]] และ[[ป้อมมหากาฬ]] และสิ้นสุดที่[[สะพานผ่านฟ้าลีลาศ]]ซึ่งเป็นสะพานข้าม[[คลองรอบกรุง]]
* '''ถนนราชดำเนินนอก''' มีความยาวทั้งสิ้น 1,475 เมตร กว้าง 58 เมตร<ref name="streetdetail"></ref> อยู่นอกพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ เริ่มจาก[[สะพานผ่านฟ้าลีลาศ]] ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างเขตพระนครกับ[[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] ถือเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างเขตพระนครกับเขตอื่นๆ เพียงเส้นเดียวที่เป็นถนน ระหว่างแบ่งเขต ถนนจะตัดกับ[[ถนนวิสุทธิกษัตริย์]] (ทางแยก จ.ป.ร.) และ[[ถนนกรุงเกษม]] (ทางแยกมัฆวาน) ก่อนข้ามคลองผดุงกรุงเกษมที่[[สะพานมัฆวานรังสรรค์]]และเข้าสู่แขวงดุสิต [[เขตดุสิต]] ตัดกับ[[ถนนพิษณุโลก]] (ทางแยกสวนมิสกวัน) และมุ่งไปทางทิศเดิมจนไปสิ้นสุดที่แยกหน้า[[ลานพระบรมรูปทรงม้า]] ตัดกับ[[ถนนศรีอยุธยา]]
 
== ประวัติ ==
เส้น 17 ⟶ 13:
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดถนนราชดำเนินนอก [[สะพานมัฆวานรังสรรค์]] และถนนเบญจมาศ เนื่องในอภิลักขิตสมัยเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 50 พรรษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2444 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนนราชดำเนินกลาง ตั้งแต่สะพานเสี้ยว ตรงไปข้าง[[คลองรอบกรุง|คลองบางลำพู]]ต่อกับถนนราชดำเนินนอก จึงโปรดเกล้าฯ ให้เรียกถนนราชดำเนินช่วงแรกว่าถนนราชดำเนินนอก ต่อมามีการก่อสร้างถนนราชดำเนินในมาจด[[ถนนหน้าพระลาน]] โดยสร้างขยายแนวถนนจักรวรรดิวังหน้าเดิม เริ่มจากแยกจุดบรรจบระหว่างถนนหน้าพระลานและถนนสนามไชย เลียบท้องสนามหลวงฝั่งตะวันออก และไปบรรจบถนนราชดำเนินกลางที่สะพานผ่านพิภพลีลา แล้วเสร็จใน [[พ.ศ. 2446]]
 
ถนนราชดำเนินเป็นถนนที่สวยงามและเป็นศรีสง่าของบ้านเมือง ตั้งแต่แรกสร้างมาจนถึงปัจจุบัน และเป็นถนนสายประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร์[[การเมืองไทย]] เพราะเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของประชาธิปไตย โดยจะถูกใช้เป็นสถานที่ชุมทางการเมืองชุมนุมทางการเมืองในช่วงวิกฤตการณ์ของประเทศหลายต่อหลายครั้ง
<ref>[http://www.tour-bangkok-legacies.com/ratchadamnoen-avenue.html ''Ratchadamnoen Avenue Bangkok's Champ Elysees'' {{en}}]</ref> <ref>[http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2010/08/K9591055/K9591055.html ทดสอบความรู้เรื่องถนนราชดำเนิน]</ref>
 
==องค์ประกอบ==
ถนนราชดำเนินแบ่งออกเป็นสามช่วง ได้แก่
* '''ถนนราชดำเนินใน''' มีความยาวทั้งสิ้น 525 เมตร กว้าง 36 เมตร<ref name="streetdetail">[https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58498?src=%2Fbrowse%3Ftype%3Ddiscipline%26sort_by%3D2%26order%3DDESC%26rpp%3D20%26etal%3D-1%26value%3D%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%2596%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A1%26offset%3D20%26brw_total%3D119%26brw_pos%3D24 อิทธิพลของงานภูมิทัศน์เมืองในทวีปยุโรป ที่มีผลต่อภูมิทัศน์เมืองบางกอกในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5]. (2559). วิทยานิพนธ์ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.</ref> อยู่ในพื้นที่[[เกาะรัตนโกสินทร์]]ชั้นใน คือ[[แขวงพระบรมมหาราชวัง]] [[เขตพระนคร]] เริ่มจาก[[ถนนหน้าพระลาน]] เป็นแนวถนนต่อจาก[[ถนนสนามไชย]] เลียบ[[ท้องสนามหลวง]]ฝั่งตะวันออกขึ้นไปทางทิศเหนือ และสิ้นสุดที่[[สะพานผ่านพิภพลีลา]]ซึ่งเป็นสะพานข้าม[[คลองคูเมืองเดิม]]
* '''ถนนราชดำเนินกลาง''' มีความยาวทั้งสิ้น 1,200 เมตร กว้าง 58 เมตร<ref name="streetdetail"></ref> อยู่ในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ชั้นนอก เริ่มจาก[[สะพานผ่านพิภพลีลา]] ไปทางทิศตะวันออก เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่าง[[แขวงตลาดยอด]]กับ[[แขวงบวรนิเวศ]]ในพื้นที่เขตพระนคร ไปจนตัดกับ[[ถนนตะนาว]]ที่[[แยกคอกวัว]] จากนั้นมุ่งหน้าไปทางทิศเดิมผ่าน[[อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย]] และ[[ป้อมมหากาฬ]] และสิ้นสุดที่[[สะพานผ่านฟ้าลีลาศ]]ซึ่งเป็นสะพานข้าม[[คลองรอบกรุง]]
* '''ถนนราชดำเนินนอก''' มีความยาวทั้งสิ้น 1,475 เมตร กว้าง 58 เมตร<ref name="streetdetail"></ref> อยู่นอกพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ เริ่มจาก[[สะพานผ่านฟ้าลีลาศ]] ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่าง[[แขวงบ้านพานถม]] เขตพระนคร กับ[[แขวงวัดโสมนัส]] [[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] ถือเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างเขตพระนครกับเขตอื่นๆ เพียงเส้นเดียวที่เป็นถนน ระหว่างแบ่งเขต ถนนจะตัดกับ[[ถนนวิสุทธิกษัตริย์]] (ทางแยก จ.ป.ร.) และ[[ถนนกรุงเกษม]] (ทางแยกมัฆวาน) ก่อนข้ามคลองผดุงกรุงเกษมที่[[สะพานมัฆวานรังสรรค์]]และเข้าสู่แขวงดุสิต [[เขตดุสิต]] ตัดกับ[[ถนนพิษณุโลก]] (ทางแยกสวนมิสกวัน) และมุ่งไปทางทิศเดิมจนไปสิ้นสุดที่แยกหน้า[[ลานพระบรมรูปทรงม้า]] ตัดกับ[[ถนนศรีอยุธยา]]
== สถานที่สำคัญบนถนนราชดำเนิน ==
[[ไฟล์:Royal crematorium of Bhumibol Adulyadej - 2560-10-13 (6).jpg|250px|thumb|ถนนราชดำเนินในเลียบสนามหลวงฝั่งตะวันออก มองจากแยกสะพานผ่านพิภพลีลา]]