ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิพิธภัณฑ์การแพทย์ศิริราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 37:
[[ไฟล์:The Forensic Science Museum in Bangkok.jpg|thumb|right|160px|[[มัมมี่]]ของ ''ซีอุย'' (ปัจจุบันได้นำออกไปแล้ว)]]
{{main|พิพิธภัณฑ์นิติเวชศาสตร์สงกรานต์ นิยมเสน}}
[[นิติเวชศาสตร์]]เป็นการนำวิชาแพทย์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อหาสาเหตุการตายผิดธรรมชาติ พิพิธภัณฑ์นี้จัดแสดง [[กะโหลกศีรษะมนุษย์]]ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่ได้มาจากเหยื่อที่ถูก[[ฆาตกรรม]] นอกจากชั้นชิ้นส่วนมนุษย์แล้วยังมีวัตถุพยานที่จากคดีด้วย ชิ้นส่วนเหล่านี้มาจากการรวบรวมของ[[สงกรานต์ นิยมเสน]]ในสมัยที่เขาทำงานอยู่
 
ภายในพิพิธภัณฑ์นี้มีการจัดแสดงศพของ[[ซีอุย]] ฆาตกรต่อเนื่องที่เป็นที่เป็นที่รู้จักมากในประวัติศาสตร์ไทย ซีอุยเป็นชาวจีนที่เกิดใน พ.ศ. 2470 ที่ตำบลฮุนไหล จังหวัด[[ซัวเถา]] [[ประเทศจีน]] ซีอุยถูกระบุว่าใช้ แซ่อึ้ง<ref>{{Cite web|url=https://chineseculturalheritage.wordpress.com/2018/03/13/36/|title=แซ่ของคนจีน|last=somsaktam|first=Author|date=2018-03-13|website=มรดกวัฒนธรรมจีน Chinese cultural heritage|language=en|access-date=2019-05-23}}</ref><ref>{{Cite web|url=http://www.okls.net/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3-%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1/%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B9%8A%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3/336-%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%8B%E0%B9%88|title=โรงเรียนภาษาและภูมิปัญญาตะวันออก OKLS : เรียนภาษาจีน เรียนภาษาญี่ปุ่น เรียนรู้ภาษาตะวันออก เรียนรู้ภาษาโลก - หลักในการเดาแซ่|website=www.okls.net|access-date=2019-05-23}}</ref> ซีอุยเข้ามาในประเทศไทยในช่วงหลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] โดยเข้ามาทำงานเป็นคนสวนในเนินพระ จังหวัดระยอง
บรรทัด 45:
การพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นกินเวลา 9 วัน ก็พิพากษาประหารชีวิต แต่ลดโทษเหลือจำคุกตลอดชีวิตเพราะจำเลยยอมรับสารภาพ แต่ตำรวจอุทธรณ์เพราะเห็นว่ามีหลักฐานเพียงพอ<ref>[http://www.khaosodenglish.com/culture/2016/10/30/ate-children-serial-killer-still-terrorizes-thailand-today/ HE ATE CHILDREN: THE SERIAL KILLER WHO STILL TERRORIZES THAILAND TODAY]</ref> เขาจึงถูกศาลอุทธรณ์ตัดสินประหารชีวิตเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2501<ref name=":1"/> และมีการประหารชีวิตด้วย[[การประหารชีวิตด้วยการยิง|การยิงเป้า]]เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2502 และหลังจากถูกประหารชีวิต โรงพยาบาลศิริราชได้ขอศพเพื่อไปใช้ในศึกษากายวิภาค<ref name=BP-20190617/> จากนั้นจึงถูกนำไปจัดแสดงพร้อมติดป้ายอธิบายว่า ซีอุย แซ่อึ้ง (มนุษย์กินคน)<ref>{{cite news |title=Hospital removes 'cannibal' sign from Si Quey corpse display |url=https://www.nationmultimedia.com/detail/national/30370342 |access-date=18 June 2019 |work=The Nation |date=31 May 2019}}</ref><ref>{{cite news |last1=Dillon |first1=Conor |title=Dead Baby Watching at Bangkok’s Medical Museum |url=https://www.vice.com/en_us/article/znqmxy/dead-baby-watching-at-bangkoks-medical-museum |access-date=18 June 2019 |work=Vice |date=7 March 2012}}</ref>
 
ผู้ใหญ่มักจะนำชื่อซีอุยมาขู่ให้เด็ก ๆ กลัว ซึ่งมักจะมีประโยคขู่เด็กที่ว่า "ระวังซีอุยจะมากินตับ"<ref>[https://www.thairath.co.th/newspaper/columns/1598151 ปิดตำนาน “ซีอุย” “60 ปี” คดีกินตับเด็ก]สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2564</ref> หลังมีกับการเรียกร้องของชาวอำเภอทับสะแก<ref name="HAZ-20190527">{{cite news |author1=RND |title=Mörder im Glaskasten: Thailand streitet über Leichnam im Museum |url=https://www.haz.de/Nachrichten/Panorama/Uebersicht/Moerder-im-Glaskasten-Thailand-streitet-ueber-Leichnam-im-Museum |access-date=18 June 2019 |work=Hannoversche Allgemeine |date=27 May 2019}}</ref> ประกอบกับแคมเปญรณรงค์ให้มีการนำร่างซีอุยออกจากพิพิธภัณฑ์ศิริราชบนเว็บไซต์ [[Change.org]] ช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2562<ref name=":1">{{Cite news|first=บีบีซี ไทย|title=ซีอุย : ความพยายามทวงคืนศักดิ์ศรีผู้ถูกศาลตัดสินและสังคมตราหน้าเป็น “มนุษย์กินคน”|work=บีบีซี ไทย|url=https://www.bbc.com/thai/thailand-48264250|access-date=19 มีนาคม 2564}}</ref> ทำให้ทางโรงพยาบาลได้นำศพออกจากพิพิธภัณฑ์ตามคำเรียกร้องหลังจัดแสดงมานานกว่า 60 ปี<ref name=":1"/> ชาวอำเภอทับสะแกยื่นหนังสือร้องเรียนคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าพวกเขาต้องการฝังศพให้ซีอุยอย่างเหมาะสม<ref name="ทับสะแก">{{Cite news|last=Limited|first=Bangkok Post Public Company|title=Serial killer Si Quey to be cremated, 6 decades after execution|work=Bangkok Post|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/general/1954451/serial-killer-si-quey-to-be-cremated-6-decades-after-execution|access-date=2020-12-05}}</ref> ครอบครัวของซีอุยไม่มีการเสนอตัวเพื่อนำศพไปดำเนินพิธีการทางศาสนา ทำให้กรมราชทัณฑ์จะเป้นเป็นธุระนำร่างซีอุยจากพิพิธภัณฑ์ไปทำการฌาปนกิจที่[[วัดบางแพรกใต้]] ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2563<ref name="ทับสะแก"/><ref>{{Cite news|first=เดลินิวส์|title=ชาวทับสะแกเตรียมร่วมงานเผา'ซีอุย' ไว้อาลัยครั้งสุดท้าย|work=เดลินิวส์|url=https://www.dailynews.co.th/regional/786057|access-date=19 มีนาคม 2564}}</ref>
 
== อ้างอิง ==