ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อรรถปริวรรตศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
'''อรรถปริวรรตศาสตร์''' ({{lang-en|Hermeneutics}}) สามารถมองได้ว่าเป็น[[ทฤษฎี]]ของ[[การตีความ]]และการทำความเข้าใจ[[ตัวบท]] ผ่านทางกระบวนการ[[เชิงประจักษ์]] (empirical) แนวทางนี้แตกต่างจากแนวปฏิบัติในการตีความที่เรียกว่า[[นัยวิเคราะห์]] ซึ่งพยายามแกะความหมายของตัวบท ขยายความ และเพิ่มเติมอรรถาธิบายของตัวบท ส่วนอรรถปริวรรตศาสตร์นั้น เน้นศึกษากระบวนการที่ทำให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจในผู้สร้างตัวบทนั้นและความสัมพันธ์ระหว่างผู้สร้างกับผู้อ่าน โดยไม่จำกัดว่าจะต้องเป็นในช่วงเวลาเดียวกัน หรือคนละช่วงเวลา การศึกษานี้ทำภายใต้เงื่อนไขของ[[วัฒนธรรม]]และ[[ประวัติศาสตร์]] ดังนั้นศาสตร์สาขานี้จึงเป็นสาขาย่อยหนึ่งของ[[ปรัชญา]]ที่สนใจความเข้าใจของมนุษย์และการตีความตัวบท ในปัจจุบัน ความหมายของคำว่าตัวบทนั้นถูกขยายออกไปจนเกินขอบเขตของ[[เอกสาร]] [[งานเขียน]] โดยยังได้รวมไปถึง [[คำพูด]] [[การแสดง]] ผลงาน[[ศิลปะ]] หรือกระทั่ง[[เหตุการณ์]]