ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอเซกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Ekströmz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
 
==ประวัติ==
ตำนานดั้งเดิมเล่าสืบต่อกันมาว่า เมื่อประมาณ พ.ศ. 2400 ผู้เขียนไม่ปรากฏนามได้เขียนบนไม้ไผ่ไว้ว่ามี ''ทรายคำ'' ([[เนื้อทราย]]สีเหลืองทอง) ถูกนายพรานยิงบาดเจ็บวิ่งหนีโซเซมาจากบ้านพันห่าว ข้ามห้วยโด (เขต[[อำเภอบ้านแพง]] [[จังหวัดนครพนม]]) มาถึงบริเวณที่ราบลุ่มแห่งหนึ่งก็ไปไม่ไหว ล้มลงสิ้นชีพ ณ บริเวณแห่งนี้ บรรดาผู้คนที่ตามเนื้อทรายตัวนี้มา มาถึงก็ได้แล่เนื้อแบ่งกินครบถ้วนทุกคน ทั้งสาวแก่แม่ม่ายสร้างจินตนาการให้เกิดปาฏิหาริย์ว่า เนื้อทรายแม้เพียงตัวเดียว แต่ก็มีเนื้อแจกจ่ายกินกันจนกินไม่หมดเหลือทิ้ง จนนกกาบินมารุมกินเนื้อทรายที่เหลือ ที่บริเวณนี้จึงมีชื่อเรียก "เซกา"
[[กิ่งอำเภอ]]เซกาถูกก่อตั้งขึ้นในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501 ผ่านการแยกกิ่งอำเภอ 5 แห่ง คือ เซกา, ดงบัง, ป่าซาง, โพธิ์หมากแข้ง และท่ากกแดงออกจาก[[อำเภอบึงกาฬ]]<ref>{{cite journal|journal=Royal Gazette|volume=75|issue=95 ง|pages=2929–2930|script-title=th:ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ยกฐานะตำบลขึ้นเป็นกิ่งอำเภอ|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2501/D/095/2929.PDF|date=1958-11-18|language=Thai}}</ref> ปีถัดมาจึงยกระดับเป็นอำเภอเต็มรูปแบบ<ref>{{cite journal|journal=Royal Gazette|volume=76|issue=113 ก ฉบับพิเศษ|pages=8|script-title=th:พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอชุมพวง อำเภอเชียงยืน อำเภอแก้งคร้อ อำเภอสำโรงทาบ อำเภอคอนสาร อำเภอเซกา อำเภอทุ่งเสลี่ยม อำเภอบ้านด่าน อำเภอขนอม อำเภอบ้านแพรก อำเภอกระทู้ และอำเภอคลองใหญ่ พ.ศ. ๒๕๐๒|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2502/A/113/8.PDF|date=1959-01-10|language=Thai}}</ref>
 
=== ที่มาของชื่ออำเภอ ===
ตำนานดั้งเดิมเล่าสืบต่อกันมาว่า เมื่อประมาณ พ.ศ. 2400 ผู้เขียนไม่ปรากฏนามได้เขียนบนไม้ไผ่ไว้ว่ามี ''ทรายคำ'' ([[เนื้อทราย]]สีเหลืองทอง) ถูกนายพรานยิงบาดเจ็บวิ่งหนีโซเซมาจากบ้านพันห่าว ข้ามห้วยโด (เขต[[อำเภอบ้านแพง]] [[จังหวัดนครพนม]]) มาถึงบริเวณที่ราบลุ่มแห่งหนึ่งก็ไปไม่ไหว ล้มลงสิ้นชีพ ณ บริเวณแห่งนี้ บรรดาผู้คนที่ตามเนื้อทรายตัวนี้มา มาถึงก็ได้แล่เนื้อแบ่งกินครบถ้วนทุกคน ทั้งสาวแก่แม่ม่ายสร้างจินตนาการให้เกิดปาฏิหาริย์ว่า เนื้อทรายแม้เพียงตัวเดียว แต่ก็มีเนื้อแจกจ่ายกินกันจนกินไม่หมดเหลือทิ้ง จนนกกาบินมารุมกินเนื้อทรายที่เหลือ ที่บริเวณนี้จึงมีชื่อเรียก "เซกา"
 
อีกตำนานหนึ่งเล่าว่า เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2405 ได้มีผู้เฒ่า 3 คน คือ จันทรโคตร/จันผาย/ฮาดดา อพยพมาจากบ้านซางหาที่ทำกินใหม่ มาถึงที่แห่งหนึ่งเป็นที่ราบลุ่มอุดมสมบูรณ์ มีห้วยหนองแหล่งน้ำมากมาย จึงได้บอกข่าวกับญาติพี่น้อง ผู้คนทั้งหลายจึงได้อพยพกันมาอยู่บริเวณนี้ ผู้คนต่างก็เอา[[ไซ]] (เครื่องมือจับปลาพื้นเมือง) ลงไปดักปลาในห้วยและเนื่องจาก ปลาในลำห้วยมีมากมาย ไม่ว่าใครก็ตามเอาไซลงไปดักปลา พอยกขึ้นมาก็มีปลาเต็มไปหมดจนขนปลาไปไม่ไหว ต้องทิ้งปลาไว้บนฝั่ง นกกาพากันบินมารุมกินปลาที่ชาวบ้านทิ้งไว้ คนจึงเรียกว่า "บ้านไซกา" ห้วยนั้นก็เรียกว่า "ห้วยไซกา" ต่อมาจึงเรียกเพี้ยนมาเป็น "เซกา" ดังที่ปรากฏในปัจจุบัน
 
[[กิ่งอำเภอ]]เซกาถูกก่อตั้งขึ้นในต่อมาเมื่อวันที่ 1618 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501 ผ่านการได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยให้แยกกิ่งอำเภอ 5 แห่ง คือ ตำบลเซกา, ตำบลดงบัง, ป่าตำบลซาง, ตำบลโพธิ์หมากแข้ง และตำบลท่ากกแดง ออกจากการปกครองของ[[อำเภอบึงกาฬ]] รวมตั้งเป็น '''กิ่งอำเภอเซกา<ref name=":1">{{cite journal|journaldate=RoyalNovember Gazette|volume=75|issue=9518, 1958|pages=2929–2930|script-title=th:ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ยกฐานะตำบลขึ้นเป็นกิ่งอำเภอ|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2501/D/095/2929.PDF|datejournal=1958-11-18ราชกิจจานุเบกษา|language=Thai|volume=75|issue=95 ง|pages=2929-2930}}</ref>''' จนกระทั่งเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2502 ปีถัดมาจึงมีพระราชกฤษฎีกาฯ ยกระดับฐานะขึ้นเป็น '''อำเภอเต็มรูปแบบเซกา<ref name=":0">{{cite journal|journaldate=RoyalJanuary Gazette|volume=76|issue=11310, ก ฉบับพิเศษ|pages=81959|script-title=th:พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอชุมพวง อำเภอเชียงยืน อำเภอแก้งคร้อ อำเภอสำโรงทาบ อำเภอคอนสาร อำเภอเซกา อำเภอทุ่งเสลี่ยม อำเภอบ้านด่าน อำเภอขนอม อำเภอบ้านแพรก อำเภอกระทู้ และอำเภอคลองใหญ่ พ.ศ. ๒๕๐๒|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2502/A/113/8.PDF|datejournal=1959-01-10ราชกิจจานุเบกษา|language=Thai|volume=76|issue=113 ก|pages=(ฉบับพิเศษ) 8-11}}</ref>''' จนถึงปัจจุบัน
 
* วันที่ 20 สิงหาคม 2483 โอนพื้นที่หมู่ 10 (ในขณะนั้น) ของตำบลเซกา ไปขึ้นกับตำบลซาง และแยกพื้นที่หมู่ 1,2,10,11,12 (ในขณะนั้น) ของตำบลซาง หมู่ 8,9,12 (ในขณะนั้น) ของตำบลเซกา หมู่ 2,3,7,16 (ในขณะนั้น) ของตำบลดอนหญ้านาง ตั้งเป็นตำบลท่ากกแดง<ref>{{cite journal|date=August 20, 1940|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงเขตตำบลในจังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2483/D/1507.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=57|issue=0 ง|pages=1507}}</ref>
* วันที่ 18 พฤศจิกายน 2501 แยกพื้นที่ตำบลเซกา ตำบลดงบัง ตำบลซาง [[อำเภอบึงโขงหลง|ตำบลโพธิ์หมากแข้ง]] และตำบลท่ากกแดง ของ[[อำเภอบึงกาฬ]] มาจัดตั้งเป็น '''กิ่งอำเภอเซกา'''<ref name=":1" /> และให้ขึ้นการปกครองกับ[[อำเภอบึงกาฬ]]
* วันที่ 10 มกราคม 2502 ยกฐานะจากกิ่งอำเภอเซกา อำเภอบึงกาฬ เป็น '''อำเภอเซกา'''<ref name=":0" />
* วันที่ 28 กรกฎาคม 2502 โอนพื้นที่หมู่ 9 บ้านดงกะพุง (ในขณะนั้น) ของตำบลชมภูพร [[อำเภอบึงกาฬ]] ไปตั้งเป็นหมู่ 9 ของตำบลเซกา กิ่งอำเภอเซกา<ref>{{cite journal|date=July 28, 1959|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงเขตท้องที่กิ่งอำเภอเซกา อำเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2502/D/074/1774.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=76|issue=74 ง|pages=1774-1775}}</ref>
* วันที่ 14 กันยายน 2508 จัดตั้งสุขาภิบาลศรีพนา ในท้องที่บางส่วนของตำบลเซกา<ref>{{cite journal|date=September 14, 1965|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลศรีพนา อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2508/D/075/2337.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=82|issue=75 ง|pages=2337-2338}}</ref>
* วันที่ 28 พฤษภาคม 2511 ตั้งตำบลบ้านต้อง แยกออกจากตำบลโพธิ์หมากแข้ง<ref>{{cite journal|date=November 28, 1968|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอโพนพิสัย อำเภอเซกา อำเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2511/D/048/1525.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=85|issue=48 ง|pages=1525-1534}}</ref>
* วันที่ 19 มิถุนายน 2516 ตั้งตำบลป่งไฮ แยกออกจากตำบลท่ากกแดง<ref>{{cite journal|date=June 16, 1973|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่ อำเภอโพนพิสัยและอำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2516/D/070/1895.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=90|issue=70 ง|pages=1895-1899}}</ref>
* วันที่ 16 มิถุนายน 2524 ตั้งตำบลน้ำจั้น แยกออกจากตำบลเซกา<ref>{{cite journal|date=June 16, 1981|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองหนองคาย อำเภอท่าบ่อและอำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2524/D/096/1781.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=98|issue=96 ง|pages=1781-1789}}</ref>
* วันที่ 7 กรกฎาคม 2524 ตั้งตำบลท่าสะอาด แยกออกจากตำบลท่ากกแดง<ref>{{cite journal|date=July 7, 1981|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนเขตตำบลในท้องที่อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2524/D/110/2148.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=98|issue=110 ง|pages=2148-2150}}</ref>
* วันที่ 7 กันยายน 2525 ตั้งตำบลบึงโขงหลง แยกออกจากตำบลโพธิ์หมากแข้ง<ref>{{cite journal|date=September 7, 1982|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองหนองคาย อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2525/D/126/3574.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=99|issue=126 ง|pages=3574-3581}}</ref>
* วันที่ 4 ตุลาคม 2526 ตั้งตำบลท่าดอกคำ แยกออกจากตำบลดงบัง<ref>{{cite journal|date=October 4, 1983|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2526/D/159/3597.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=100|issue=159 ง|pages=3597-3599}}</ref>
* วันที่่ 21 มกราคม 2529 แยกพื้นที่ตำบลบึงโขงหลง ตำบลโพธิ์หมากแข้ง ตำบลดงบัง และตำบลท่าดอกคำ ของอำเภอเซกา ไปจัดตั้งเป็น '''กิ่งอำเภอบึงโขงหลง<ref>{{cite journal|date=January 21, 1986|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งเขตท้องที่อำเภอเซกา จังหวัดหนองคายตั้งเป็นกิ่งอำเภอบึงโขงหลง|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2529/D/009/159.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=103|issue=9 ง|pages=159}}</ref>''' และให้ขึ้นการปกครองกับเซกา
* วันที่่ 23 มิถุนายน 2530 ตั้งตำบลหนองทุ่ม แยกออกจากตำบลซาง<ref>{{cite journal|date=June 23, 1987|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอเซกา อำเภอโซพิสัย จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2530/D/118/4230.PDFhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2530/D/118/4230.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=104|issue=118 ง|pages=4230-4239}}</ref>
* วันที่ 15 กันยายน 2532 ตั้งตำบลโสกก่าม แยกออกจากตำบลบ้านต้อง<ref>{{cite journal|date=September 15, 1989|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและกำหนดเขตตำบล ในท้องที่อำเภอศรีเชียงใหม่ และอำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2532/D/154/77.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=106|issue=154 ง|pages=(ฉบับพิเศษ) 77-84}}</ref>
* วันที่ 11 สิงหาคม 2536 เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลศรีพนา<ref>{{cite journal|date=August 11, 1993|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลศรีพนา อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/D/108/22.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=110|issue=108 ง|pages=(ฉบับพิเศษ) 22-23}}</ref> เพื่อความเหมาะสมในการบริหารกิจการและการทะนุบำรุงท้องถิ่น
* วันที่ 23 สิงหาคม 2536 จัดตั้้งสุขาภิบาลบึงโขงหลง ในท้องที่บางส่วนของตำบลบึงโขงหลง และตำบลโพธิ์หมากแข้ง<ref>{{cite journal|date=August 23, 1993|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลบึงโขงหลง กิ่งอำเภอบึงโขงหลง อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/D/116/24.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=110|issue=116 ง|pages=(ฉบับพิเศษ) 24-26}}</ref> จัดตั้งสุขาภิบาลท่าสะอาด ในท้องที่บางส่วนของตำบลท่าสะอาด<ref>{{cite journal|date=August 23, 1993|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลท่าสะอาด อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/D/116/37.PDFhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/D/116/37.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=110|issue=116 ง|pages=(ฉบับพิเศษ) 37-38}}</ref>
* วันที่ 3 พฤศจิกายน 2536 ยกฐานะจากกิ่งอำเภอบึงโขงหลง อำเภอเซกา เป็น '''อำเภอบึงโขงหลง<ref>{{cite journal|date=November 3, 1993|title=พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอลำทับ อำเภอร่องคำ อำเภอเวียงแหง อำเภอนาโยง อำเภอแก้งสนามนาง อำเภอโนนแดง อำเภอบ้านหลวง อำเภอกะพ้อ อำเภอศรีบรรพต อำเภอแก่งกระจาน อำเภอหนองสูง อำเภอสบเมย อำเภอเมยวดี อำเภอโคกเจริญ อำเภอทุ่งหัวช้าง อำเภอผาขาว อำเภอวังหิน อำเภอดอนพุด อำเภอบึงโขงหลง และอำเภอห้วยคต พ.ศ. 2536|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/A/179/1.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=110|issue=พิเศษ 179 ง|pages=1-3}}</ref>'''
* วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลศรีพนา และสุขาภิบาลท่าสะอาด เป็นเทศบาลตำบลศรีพนา และเทศบาลตำบลท่าสะอาด ตามลำดับ<ref>{{cite journal|date=February 24, 1999|title=พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. ๒๕๔๒|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/A/009/1.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=116|issue=9 ก|pages=1-4}}</ref> ด้วยผลของกฎหมาย
* วันที่ 5 สิงหาคม 2563 จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลป่งไฮ เป็นเทศบาลตำบลป่งไฮ<ref>{{cite journal|date=August 5, 2020|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลป่งไฮ อำเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ เป็นเทศบาลตำบลป่งไฮ|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/179/T_0005.PDFhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/179/T_0005.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=137|issue=ตอนพิเศษ 179 ง|pages=5-6}}</ref>
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
เส้น 67 ⟶ 86:
=== การปกครองส่วนท้องถิ่น ===
ท้องที่อำเภอเซกาประกอบด้วย[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]] 11 แห่ง ได้แก่
* '''[[เทศบาลตำบลท่าสะอาด]]''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลท่าสะอาด
* '''[[เทศบาลตำบลศรีพนา]]''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลเซกา
* '''[[เทศบาลตำบลท่าสะอาด]]''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลท่าสะอาด
* '''[[เทศบาลตำบลซาง]]''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลซางทั้งตำบล
* '''เทศบาลตำบลป่งไฮ''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลป่งไฮทั้งตำบล
เส้น 78 ⟶ 97:
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลหนองทุ่ม''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองทุ่มทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลโสกก่าม''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโสกก่ามทั้งตำบล
 
== ภาษา ==
ภาษาพื้นเมืองที่ใช้พูดในท้องถิ่น คือ ลาว ย้อ ภูไท
 
== สถานที่สำคัญ ==
* น้ำตกเจ็ดสี
* น้ำตกถ้ำพระ
* วัดเซกาเจติยาราม (พระอารามหลวง)
* วัดไตรภูมิ
* สวนสาธารณะกุดซาง (สวนลิง)
 
== ผลิตภัณฑ์ ==
ผลิตภัณฑ์ดีเด่น ได้แก่ ผ้าขาวม้า ปลาร้า อาหาร
 
== การคมนาคม ==
เส้นทางเดินรถที่สะดวกจากกรุงเทพมหานครโดยรถโดยสารสาย 33 กรุงเทพมหานคร–กระนวน-บ้านแพง (ผ่านหน้าสถานีตำรวจภูธรเซกา)หรือ จุดจอด บขส.เซกาเมืองใหม่
มีรถทัวร์ที่ผ่าน บริษัท ขนส่ง(บขส) บ.เชิดชัยทัวร์ บ.407พัฒนา บ.ชาญทัวร์ บ.โลตัสพิบูลทัวร์
 
== อ้างอิง ==