ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขั้วโลกเหนือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
ขั้วโลกใต้นั้นอยู่ในแผ่นดิน แต่ว่าขั้วโลกเหนือนั้นอยู่กลาง[[มหาสมุทรอาร์กติก]]ที่เป็นน่านน้ำปกคลุมด้วย[[น้ำแข็งทะเล]]เกือบถาวร ใน ค.ศ. 2007 ''[[Mir (submersible)|มีร์]]''เรือดำน้ำสัญชาติ[[รัสเซีย]]วัดความลึกของทะเลที่ขั้วโลกเหนือได้ที่ 4,261 ม.<ref>[http://uk.reuters.com/article/worldNews/idUKL0286134520070802 Russian sub plants flag at North Pole], Reuters, 2 August 2007</ref> และวัดได้ 4,087 ม. จากเรือ[[USS Nautilus (SSN-571)|ยูเอสเอส ''นอติลุส'']]ใน ค.ศ. 1958<ref>{{cite web |url=http://militera.lib.ru/memo/usa/anderson_w/18.html | title="Наутилус" у Северного полюса |publisher=[[Voenizdat|Воениздат]] | year=1965 | access-date=12 January 2012 | author=Андерсон, Уильям Роберт| author-link=William Anderson (naval officer) }}</ref><ref>{{cite book | url=https://books.google.com/books?id=7rftTUAUXOIC&pg=PA202| title=The International Regime of the Polar Regions | publisher=[[Hague Academy of International Law|Acadimie de Droit International de La Ha]] | year=1968 | access-date=12 January 2012 | author=Mouton, M.W. | pages=202 (34)| isbn=978-9028614420 }}</ref> การที่มีลักษณะภูมิประเทศเช่นนี้ทำให้ไม่สามารถสร้างสถานีถาวรที่ขั้วโลกเหนือได้ อย่างไร้ก็ตาม[[สหภาพโซเวียต]]หรือ[[รัสเซีย]]ในเวลาต่อมา ได้สร้าง[[Drifting ice station|สถานีลอยน้ำแข็ง]]เป็นประจำเกือบทุกปีตั้งแต่ ค.ศ. 1937 ซึ่งบางแห่งได้ลอยผ่านและใกล้กับขั้วโลกมาก ตั้งแต่ ค.ศ. 2002 เป็นต้นมารัสเซียได้สร้าง[[Barneo|แคมป์บาเนียว]]ใกล้กับขั้วโลกเป็นประจำทุกปี
 
การพยายามพิชิตขั้วโลกเหนือเริ่มขึ้นในปลายศตวรรษที่ 19 โดยมีสถิติที่ถูกบันทึกไว้หลายครั้ง การเดินทางถึงขั้วโลกเหนือโดยไม่ประสบปัญหาเกิดขึ้นครั้งแรกในปี 1926 การสำรวจครั้งนี้เดินทางโดยการใช้เรือเหาะ''[[Norge (airship)|นอร์ส]]'' บินสำรวจ คณะเดินทางชุดนี้ประกอบด้วยทหารมีทั้งหมด 16 คนและโดยนับรวม[[รูอาล อามึนเซิน]]ผู้เป็นหัวหน้าคณะสำรวจด้วย
 
== อ้างอิง ==