ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongtouch (คุย | ส่วนร่วม)
Pongtouch (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 66:
ในชั้นฟิสิคอลของชุดโปรโตคอล ATM จะแบ่งย่อยออกเป็น 2 ชั้น ดังนี้
 
* '''Transmission Convergence (TC)'''
 
* '''Physical Medium (PM)'''
 
ในชั้น TC จะรับผิดชอบเกี่ยวกับการรับส่งข้อมูล เช่น ถ้าเป็นการส่งข้อมูลชั้นนี้ก็จะรับเซลล์ข้อมูลจาก ATM เลเยอร์ แล้วคำนวณค่า Checksum เพื่อใช้ในการตรวจสอบข้อผิดพลาดแล้วส่งข้อมูลทีละบิตไปบนสื่อกลาง ถ้าเป็นการรับข้อมูลชั้นนี้ก็จะทำงานในทางตรงกันข้ามกับการส่งข้อมูล ส่วนในชั้น PM ก็จะรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมสัญญาณข้อมูล การซิงโครไนซ์ และไทม์มิ่ง ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของสายสัญญาณที่ใช้
 
 
'''=== ATM Adaptation Layer (AAL)''' ===
 
 
ดังรูป ในชั้นData Link ของ ATM นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 เพลน คือ User Plane และ Control Plane ทั้ง 2 เพลนจะอยู่บนชั้นย่อย ATM เลเยอร์ ในส่วน User Plane นั้นจะมีชั้นย่อยที่ชื่อ AAL(ATM Adaption Layer)ส่วนใน Control Plane จะมีสองชั้นย่อย คือ CS(Convergence Sublayer) และ SAR (Segmentation and Reassembly)
เส้น 88 ⟶ 90:
- Class D Service : คลาสนี้จะให้บริการคอนเน็กชันเลสส์ (Connectionless) และการรับส่งแบบอะซิงโครนัส การบริการแบบนี้จะเหมาะสำหรับการรับส่งข้อมูลใน LAN ทั่ว ๆ ไป
 
 
'''=== ATM Layer''' ===
 
 
โปรโตคอลในเลเยอร์นี้จะรับผิดชอบเกี่ยวกับการสร้างการเชื่อมต่อเสมือน หรือ VC(Virtual Connections) แล้วทำการส่งเซลล์ข้อมูลผ่านการเชื่อมต่อ ATM เลเยอร์จะเป็นหนึ่งในชั้นย่อยและทำงานเหมือนโปรโตคอลในชั้นดาต้าลิงค์ของแบบอ้างอิง OSI หน้าที่ของโปรโตคอลในชั้นนี้จะขึ้นอยู่กับประเภทของอุปกรณ์ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สถานีรับส่ง (End Station) และสวิตซ์ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
เส้น 96 ⟶ 100:
- Switch : หน้าที่ของ ATM เลเยอร์ในสวิตซ์คือ เมื่อได้รับข้อมูลจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่งแล้วจะทำการอ่านข้อมูลส่วนหัวที่เป็น VPI/VCI (Virtual Path Identifier) แล้วทำการเปรียบเทียบกับตารางข้อมูล VPI/VCI ที่เก็บไว้ในตัวสวิตซ์เอง ซึ่งถ้ามีข้อมูลอยู่ในตารางก็สามารถส่งเซลล์ข้อมูลต่อไป แต่ถ้าไม่มีก็ต้องทำการค้นหาว่าสถานีปลายทางอยู่ที่พอร์ตใด แล้วทำการบันทึกข้อมูลใหม่ลงในตารางนี้ นอกจากนี้ยังทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับลำดับการรับส่งเซลล์ถ้ามีการรับส่งในหลายพอร์ต
 
 
'''=== Local Area Network Emulation (LANE)''' ===
 
 
เนื่องจากกลไกการรับส่งข้อมูลของ ATM แตกต่างจากเครือข่าย LAN ประเภทอื่น เช่น Ethernet และ Token Ring ซึ่งเป็นเครือข่ายประเภทหนึ่งที่นิยมมากในปัจจุบัน ดังนั้นแอพพลิเคชันประเภทนี้จะใช้กับเครือข่าย ATM ไม่ได้ ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการพัฒนา ATM ให้สามารถรองรับแอพพลิเคชันประเภทนี้ได้ โดยการเพิ่มอีกเลเยอร์หนึ่งขึ้นมาเรียกว่า LANE (Local Area Network Emulation) นั่นเอง ข้อแตกต่างระหว่าง ATM และ Ethernet หรือ Token Ring คือ