ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำบลรุ่งระวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekströmz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ekströmz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
| postal_code = 33130
| geocode = 331505
|image=สามแยกบ้านสบาย.jpg|image_caption=บริเวณสามแยกบ้านหมู่บ้านสบาย ตำบลรุ่งระวี ซึ่งเป็นทางแยกไปตัวอำเภอน้ำเกลี้ยง รวมถึงอำเภอกันทรารมย์ อำเภอศรีรัตนะ และอำเภอเบญจลักษ์}}
'''รุ่งระวี''' เป็นตำบลหนึ่งใน[[อำเภอน้ำเกลี้ยง]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]] อยู่ห่างจากที่ตั้งที่ว่าการ[[อำเภอน้ำเกลี้ยง]]ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 7 กิโลเมตร และห่างจากตัวหวัด[[จังหวัดศรีสะเกษ]]ประมาณ 40 กิโลเมตร และยังเป็นที่ตั้งของสถานีวนวัฒนวิจัยห้วยทา ซึ่งเป็นพื้นที่อนุรักษ์พื้นที่[[สนสองใบ|ป่าสนสองใบที่ราบ]] เพียงแห่งเดียวของ[[จังหวัดศรีสะเกษ]] ซึ่งมีอายุกว่า 200 ปี{{กล่องข้อมูล องค์การบริหารส่วนตำบล
<!-- ข้อมูลจำเป็น -->|ชื่อ=รุ่งระวี|ประชากร=8,274|map_caption=|คำขวัญ=|ชื่อนายกองค์การบริหารส่วนตำบล=|จังหวัด=ศรีสะเกษ|อำเภอ=น้ำเกลี้ยง|พื้นที่=37.586|coordinates=|ปีสำรวจประชากร=2563|ความหนาแน่น=220.13|รหัส อปท.=06331506|ที่ทำการ=หมู่ที่ 12 ตำบลรุ่งระวี อำเภอน้ำเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ 33130|เว็บไซต์={{URL|https://rungravee.go.th}}|pushpin_map=}}
 
== ประวัติ ==
เดิมพื้นที่ "รุ่งระวี" เป็นส่วนหนึ่งของ[[อำเภอกันทรารมย์]] ต่อมาทางราชการได้แบ่งพื้นที่การปกครองออกมาตั้งเป็น[[อำเภอน้ำเกลี้ยง|กิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง]]<ref name=":0">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volumedate=103|issue=9January ง|pages=15721, 1986|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งเขตท้องที่อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งเป็นกิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2529/D/009/157.PDF|datejournal=21 มกราคม 2529ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=103|issue=9 ง|pages=157}}</ref> ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2529 โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม ปีเดียวกัน โดยในขณะนั้นรุ่งระวียังมีฐานะเป็นหมู่บ้านหนึ่งในท้องที่ตำบลละเอาะ
 
เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2533 จึงได้แยกตัวเป็นตำบลรุ่งระวี อำเภอน้ำเกลี้ยง โดยรวมเอาหมู่บ้านของตำบลเขินและตำบลละเอาะ ตั้งเป็นตำบลรุ่งระวี<ref>{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=107|issue=149August ง|pages=17, (ฉบับพิเศษ) 75-791990|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอขุขันธ์ อำเภอกันทรลักษณ์ อำเภอยางชุมน้อย กิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง และกิ่งอำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2533/D/149/61.PDF|datejournal=17 สิงหาคม 2533ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=107|issue=149 ง|pages=(ฉบับพิเศษ) 75-79}}</ref> ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 และมีผลในวันที่ 17 สิงหาคม ปีเดียวกัน
 
ชื่อตำบลรุ่งระวีได้มาโดยมีปลัดในสมัยนั้นชื่อนายอุดม ได้เสนอชื่อเพื่อเลือก 3 ชื่อ ดังนี้
 
* "สวนป่า" เนื่องจากพื้นที่มีป่าสงวนแห่งชาติป่าสนละเอาะ ที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ
* สวนป่า
* "ลำระวี" ซึ่งเป็นลำห้วยธรรมชาติที่ไหลผ่านพื้นที่ พื้นที่ได้รับประโยชน์ 502 ไร่ โดยมีต้นกำเนิดอยู่ที่เขตตำบลไพร [[อำเภอขุนหาญ]]
* ลำระวี
* "รุ่งระวี" โดยใช่ชื่อหมู่บ้านรุ่ง หมู่ที่ 6 ตำบลละเอาะ ซึ่งเป็นหมู่บ้านใหญ่ มารวมกับชื่อลำห้วยในพื้นที่ กลายเป็นชื่อมงคลนาม
* รุ่งระวี
 
และได้ร่วมกันลงมติตั้งชื่อตำบลว่า "ตำบลรุ่งระวี" ต่อจากนั้นได้มีการจัดตั้งองค์กรในรูปแบบสภาตำบล ตามประกาศของคณะปฏิวัติที่ 326 ให้เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่หลักในด้านการพัฒนาตำบลตอบสนองต่อนโยบายการกระจายอำนาจลงสู่ท้องถิ่น และต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเป็น '''[[อำเภอน้ำเกลี้ยง''']]<ref name=":1">{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=111|issue=21June ก|pages=32-343, 1994|title=พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอเปือยน้อย อำเภอภูผาม่าน อำเภอราชสาส์น อำเภอเกาะสีชัง อำเภอไชยปราการ อำเภอนาหมื่น อำเภอสันติสุข อำเภอพลับพลาชัย อำเภอทุ่งยางแดง อำเภอไม้แก่น อำเภอศรีสมเด็จ อำเภอน้ำเกลี้ยง อำเภอบึงบูรพ์ อำเภอเจริญศิลป์ อำเภอนิคมน้ำอูน อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอนาหม่อม อำเภอท่าแพ อำเภอชัยบุรี และอำเภอศรีวิไล พ.ศ. ๒๕๓๗|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2537/A/021/32.PDF|datejournal=3 มิถุนายน 2537ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=111|issue=21 ก|pages=32-34}}</ref> ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 3 มิถุนายน ปีเดียวกัน ทำให้สภาตำบลรุ่งระวี เข้ามาอยู่ในเขตของอำเภอน้ำเกลี้ยง
 
จากนั้นสภาตำบลจึงได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลรุ่งระวี<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=113|issue=9 ง|pages=164-165|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล (จำนวน ๒๑๔๓ แห่ง)|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/D/009/5.PDF|date=30 มกราคม 2539|language=}}</ref> ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2539 และมีผลในวันที่ 30 มกราคม ปีเดียวกัน เป็นต้นมา
[[ไฟล์:สามแยกบ้านสบาย.jpg|thumb|บริเวณสามแยกหมู่บ้านสบาย ตำบลรุ่งระวี ซึ่งเป็นทางแยกไปตัว[[อำเภอน้ำเกลี้ยง]] รวมถึง[[อำเภอกันทรารมย์]] [[อำเภอศรีรัตนะ]] และ[[อำเภอเบญจลักษ์]]]]
 
จากนั้นสภาตำบลจึงได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลรุ่งระวี<ref>{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=113|issue=9January ง|pages=164-16530, 1996|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล (จำนวน ๒๑๔๓ แห่ง)|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/D/009/5.PDF|datejournal=30 มกราคม 2539ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=113|issue=9 ง|pages=164-165}}</ref> ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2539 และมีผลในวันที่ 30 มกราคม ปีเดียวกัน เป็นต้นมา
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
ตำบลรุ่งระวี มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังนี้
เส้น 40 ⟶ 38:
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับอำเภอน้ำเกลี้ยง และตำบลเขิน อำเภอน้ำเกลี้ยง
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับตำบลตำแย และตำบลพรหมสวัสดิ์ [[อำเภอพยุห์]]
[[ไฟล์:ป่าสนสองใบ 200 ปี - สถานีวนวัฒนวิจัยห้วยทา .jpg|thumb|ป่าสนสองใบ ซึ่งมีอายุกว่า 200 ปี ตั้งอยู่บริเวณสถานีวนวัฒนวิจัยห้วยทา|400373x400373px]]
 
== การปกครอง ==
ตำบลรุ่งระวีประกอบด้วยหมู่บ้านทั้งสิ้นจำนวน 15 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากร 8,274 คน แบ่งเป็นชาย 4,193 คน หญิง 4,081 คน (ปี 2563)
{| class="wikitable sortable" style="margin: 0 auto 1em auto; text-align:center;"
! rowspan="2" |หมู่
เส้น 59 ⟶ 57:
|192
|361
|99100
|-
|2
|สบาย
|337336
|347344
|684680
|180183
|-
|3
|สบาย
|114113
|115113
|229226
|8081
|-
|4
|โนนงาม
|274271
|267264
|541535
|123
|-
|5
|หนองพะแนง
|572580
|542548
|1,114128
|261265
|-
|6
|รุ่ง
|297294
|321317
|618611
|154
|-
|7
|หนองระไง
|272270
|233235
|505
|124
เส้น 105 ⟶ 103:
|8
|หนองแคน
|334333
|347350
|681683
|192
|-
|9
|หนองแลง
|286285
|260268
|546553
|125
|-
เส้น 122 ⟶ 120:
|138
|288
|7172
|-
|11.
|โนนไชยงาม
|238239
|216223
|454462
|100
|-
|12
|หนองสบาย
|294291
|297
|591588
|145143
|-
|13
|กลาง
|132134
|110109
|242243
|6667
|-
|14
|สบายเหนือ
|306301
|282283
|588584
|143144
|-
|15
|รุ่งเหนือ
|428427
|404400
|832827
|174177
|-
| colspan = "2" |รวม
|4,203193
|4,071081
|8,274
|2,037
|}
 
== ประชากร ==
ตำบลรุ่งระวีมีจำนวนประชากร 8,274 คน แบ่งเป็นชาย 4,203 คน หญิง 4,071 คน (ปี 2562)
{| class="wikitable" style="margin: 0 auto 1em auto; text-align:center;"
! colspan="15" | ประชากรตำบลรุ่งระวีแบ่งตามปี
|-
! 2562
! 2561
! 2560
! 2559
! 2558
! 2557
! 2556
! 2555
! 2554
! 2553
! 2552
! 2551
! 2550
! 2549
! 2548
|-
|8,274
|82,247050
|8,244
|8,199
|8,133
|8,086
|8,082
|8,037
|7,993
|7,985
|7,941
|7,895
|7,843
|7,823
|7,808
|}
 
== สถานที่สำคัญ ==
=== สถานีวนวัฒนวิจัยห้วยทา ===
ตั้งอยู่ที่พื้นที่หมู่ 5 บ้านหนองพะแนง ตำบลรุ่งระวี อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าสนละเอาะ สังกัด[[องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้|องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.)]] สำนักการป่าชุมชน กรมป่าไม้ [[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]] กับหน่วยป้องกันรักษาที่ ศก.5 (ห้วยขะยุง - หนองม่วง) เป็นป่าสนสองใบบริเวณที่ราบผืนสุดท้ายของจังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นที่รับผิดชอบ 800 ไร่ โดยกระทรวงมหาดไทยได้ยกพื้นที่ป่าสน ในท้องที่ตำบลตำแย ตำบลละเอาะ ตำบลน้ำเกลี้ยง [[อำเภอกันทรารมย์]] และตำบลตูม ตำบลศรีแก้ว [[อำเภอกันทรลักษ์]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]] ให้เป็นป่าคุ้มครอง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2491 โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 14 ธันวาคม<ref>{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=65|issue=72December ก|pages=802-80414, 1948|title=พระราชกฤษฎีกากำหนดป่าสน ในท้องที่ตำบลตำแย ตำบลละเอาะ และตำบลน้ำเกลี้ยง อำเภอกันทรารมย์ ตำบลตูมและตำบลศรีแก้ว อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ ให้เป็นป่าคุ้มครอง พ.ศ. ๒๔๙๑|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2491/A/072/802.PDF|datejournal=14 ธันวาคม 2491ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=65|issue=72 ก|pages=802-804}}</ref> ปีเดียวกัน
 
ต่อมาได้มีประกาศกฎกระทรวง ฉบับที่ 423 (พ.ศ. 2512) ออกตามความในพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ได้ยกพื้นที่ป่าสน ในท้องที่ ตำบลละเอาะ ตำบลน้ำเกลี้ยง อำเภอกันทรารมย์ ตำบลตำแย อำเภอเมืองศรีสะเกษ และตำบลตูม ตำบลศรีแก้ว อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ให้เป็นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2512 โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคม<ref>{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=86|issue=46May ก|pages=539-54027, 1969|title=กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๒๓ (พ.ศ. ๒๕๑๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗ [กำหนดให้ป่าในท้องที่ตำบลสนละเอาะ ในท้องที่ตำบลน้ำเกลี้ยง ตำบลละเอาะ อำเภอกันทรารมย์ ตำบลตำแย อำเภอเมืองศรีสะเกษ และตำบลศรีแก้ว ตำบลตูม อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ]|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2512/A/046/539.PDF|datejournal=27 พฤษภาคม 2512ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=86|issue=46 ก|pages=539-540}}</ref> ปีเดียวกัน เนื่องจากป่าแห่งนี้มีไม้ยาง ไม้กระบาก ไม้พะยอม ไม้ประดู่ ไม้พะยุง ไม้ตะเคียน ไม้สน และไม้ชนิดอื่นซึ่งมีค่าจำนวนมาก และมีของป่ากับทรัพยากรธรรมชาติอื่นด้วย สมควรกำหนดให้เป็นป่าสงวนแห่งชาติ เพื่อรักษาสภาพป่า ไม้ ของป่า และทรัพยากรธรรมชาติอื่นไว้
 
การเดินทางไปสถานีวนวัฒนวิจัยห้วยทานี้ สามารถเดินทางจากจังหวัดศรีสะเกษ ไปตาม[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 221|ทางหลวงหมายเลข 221]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]] ไปอำเภอกันทรลักษ์ ตรงกิโลเมตรที่ 28 - 29 ก็จะถึงสถานีวนวัฒนวิจัยห้วยทา ถนนหลวงจะผ่านพื้นที่สถานีวนวัฒนวิจัยห้วยทา ที่ทำการสถานีห่างจากถนนใหญ่เพียง 200 เมตรเท่านั้น ปัจจุบันมีเส้นทางเดินชมพื้นที่ป่าสนสองใบที่ราบ ซึ่งเป็นพื้นที่อนุรักษ์ มีข้อมูลของพันธุ์ไม้ต่างๆ ให้ศึกษา และมีสวนสาธารณะเจริญจิต ตั้งอยู่ภายในพื้นที่สถานีวนวัฒนวิจัยห้วยทาด้วย
 
== อ้างอิง ==