ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิหมิงอิงจง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 28:
}}
 
'''จู ฉีเจิ้น''' ({{zh|t=朱祁鎮|p=Zhū Qízhèn}}; 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1427 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1464) เป็น[[จักรพรรดิจีน]]แห่ง[[ราชวงศ์หมิง]] เสวยราชย์ 2 ครั้ง ครั้งแรกระหว่าง ค.ศ. 1435–49 ใช้พระนามว่า '''เจิ้งถ่ง''' ({{zh|t=正統|p=Zhèngtǒng}}) แปลว่า "ครองธรรม" นับเป็นรัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์หมิง ครั้งที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1457–64 ใช้พระนามว่า '''เทียนชุ่น''' ({{zh|t=天順|p=Tiānshùn}}) แปลว่า "ภักดิ์ฟ้า" นับเป็นรัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์หมิง<ref>{{citation|title=The Making of the Chinese State: Ethnicity and Expansion on the Ming Borderlands |author= Leo K. Shin|year= 2006|publisher=Cambridge University Press|url=http://books.google.com/?id=DOb-4JU18UAC&pg=RA2-PA159&lpg=RA2-PA159&dq=%22Zhengtong+Emperor%22|isbn=978-0-521-85354-5 }}</ref> นอกจากนี้ ยังเรียกขานพระนามตามวัดประจำรัชกาลที่ชื่อ '''อิงจง''' ({{zh|t=英宗|p=Yīngzōng}}) แปลว่า "วีรวงศ์"
 
==ครองราชย์ครั้งแรก==
บรรทัด 34:
จู ฉีเจิ้น เป็นโอรสของ[[จักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ|จู จานจี]] (朱瞻基) หรือ[[จักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ]] (宣德) กับมเหสีองค์ที่สอง คือ [[จักรพรรดินีซุน]] (孫)
 
ขณะพระชนม์ได้ 8 ชันษา จู ฉีเจิ้น ได้สืบสมบัติต่อจากเซฺวียนเต๋อพระบิดา ใช้พระนามว่า "เจิ้งถ่ง" (正統) แปลว่า "ครองธรรม"
 
เมื่อแรกเสวยราชย์นั้น ราชวงศ์หมิงรุ่งเรืองถึงขีดสุดเพราะการปกครองอันชาญฉลาดในรัชกาลพระบิดา แต่เพราะจู ฉีเจิ้น ยังเยาว์นัก เหล่าขันทีพี่เลี้ยง โดยเฉพาะ[[หวัง เจิ้น]] (王振) จึงมีอิทธิพลเหนือพระองค์มาก พระองค์อาศัยความคิดอ่านของขันทีเป็นหลักในการว่าราชกิจ
บรรทัด 40:
==เชลยมองโกล==
 
ครั้น ค.ศ. 1449 พระชนม์ได้ 21 ชันษา จู ฉีเจิ้น นำทัพหลวงออกรบกับชาว[[มองโกล]]ซึ่งนำโดย[[ราชครูเหย่เซียน]] (也先太師; Esen Taishi) จากเผ่า[[หว่าล่า]] (瓦剌; Oirat) ณ ปราการถู่มู่ (土木) เสด็จไปครั้งนั้นมีขันที[[หวัง เจิ้น]] เป็นที่ปรึกษาประจำทัพ แต่เกิดโกลาหล ทัพหลวงแตกพ่าย หวัง เจิ้น ถูกฆ่าตาย และจู ฉีเจิ้น ถูกมองโกลจับเป็นเชลย เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นที่รู้จักในชื่อ [[วิกฤติถู่มู่]] (土木之變)
 
แม้จู ฉีเจิ้น จะอยู่แคว้นมองโกลในฐานะเชลย แต่ก็ได้เป็นมิตรสนิทสนมกับราชครูเหย่เซียน และข่าน[[ทัวทัวปู้ฮวา]] (脱脱不花)
 
อย่างไรก็ดี การที่พระมหากษัตริย์ถูกจับเป็นเชลย ทำให้เกิดภาวะไร้ผู้นำจนแผ่นดินจีนสั่นคลอน เพื่อระงับสถานการณ์ [[จักรพรรดิจิ่งไท่|จู ฉี-อฺวี้]] (朱祁鈺) พระอนุชา ประกาศถอดจู ฉีเจิ้น ออกจากราชสมบัติ และประทานสมัญญา[[ไท่ช่างหฺวัง|พระเจ้าหลวง]] (太上皇) ให้ แล้วจู ฉี-อฺวี้ ขึ้นเสวยราชย์เป็นพระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใหม่ ใช้พระนามว่า "[[จักรพรรดิจิ่งไท่|จิ่งไท่]]" (景泰) แปลว่า "มองไกล" กับทั้งได้เสนาบดี[[ยฺหวี เชียน]] (于谦) ช่วยประคับประคองกิจการบ้านเมือง ราชวงศ์หมิงจึงดำเนินต่อไปด้วยดี
 
==ครองราชย์ครั้งที่สอง==
บรรทัด 50:
ใน ค.ศ. 1450 ชาวมองโกลปล่อยจู ฉีเจิ้น เป็นไทให้กลับไปยังดินแดนจีน แต่ทันทีที่จู ฉีเจิ้น ย่างพระบาทเข้าสู่มาตุภูมิ จู ฉี-อฺวี้ ก็ให้กุมพระองค์ไปกักบริเวณไว้ ณ ตำหนักฝ่ายใต้ใน[[พระราชวังต้องห้าม]] แล้วถอด[[จักรพรรดิเฉิงฮว่า|จู เจี้ยนจฺวิ้น]] (朱見濬) โอรสของจู ฉีเจิ้น ออกจากตำแหน่งรัชทายาท ตั้งจู เจี้ยนจี้ (朱見濟) โอรสของตัว ขึ้นเป็นรัชทายาทแทน
 
จู ฉีเจิ้น ทรงน้อยพระทัยนัก ถูกกักบริเวณอยู่ตำหนักใต้ถึง 7 ปี กระทั่งจู เจี้ยนจี้ ประชวรสิ้นพระชนม์ จู ฉี-อฺวี้ โทมนัสจนประชวรไปด้วย จู ฉีเจิ้น จึงอาศัยโอกาสนี้รัฐประหารจู ฉี-อฺวี้ เป็นผลสำเร็จ
 
จู ฉีเจิ้น ถอดจู ฉี-อฺวี้ ออกจากตำแหน่งกษัตริย์ลงเป็นองค์ชาย ให้กักบริเวณไว้ที่ซี-ยฺเวี่ยน (西苑) หนึ่งเดือนให้หลัง จู ฉีเจิ้น ให้ขันทีวางยาฆ่าจู ฉี-อฺวี้ ตาย
 
ตัวจู ฉีเจิ้น นั้นกลับขึ้นเสวยราชย์อีกครั้ง ใช้พระนามว่า "เทียนชุ่น" (天順) แปลว่า "ภักดิ์ฟ้า" อยู่ในราชสมบัติ 7 ปี ก็เสด็จนฤพานสวรรคตใน ค.ศ. 1464 สิริพระชนม์ 36 พรรษา ก่อนสิ้นพระชนม์ จู ฉีเจิ้น ได้ออกพระราชกฤษฎีกายกเลิกประเพณีฝังนางสนมกำนัลทั้งเป็นเพื่อตามไปถวายการรับใช้ในปรโลก พระราชกฤษฎีกานี้เป็นที่ยกย่องอย่างยิ่งในภายหลัง<ref>{{cite book|last1=Zhonghua quan guo fu nü lian he hui|title=Women of China|publisher=Foreign Language Press|date=1984}}</ref>
 
จู เจี้ยนจฺวิ้น โอรสจู ฉีเจิ้น สืบบัลลังก์ต่อ ใช้พระนามว่า "[[จักรพรรดิเฉิงฮว่า|เฉิงฮว่า]]" (成化) แปลว่า "ปฏิรูปเป็นผล"
 
==พงศาวลี==
บรรทัด 66:
 
===พระภรรยาเจ้า===
====พระมเหสี====
{| class="wikitable"
|-
บรรทัด 90:
|
* พระบิดาชื่อ โจว เหนิง (周能)
* สิ้นพระชนม์แล้วจึงได้รับสถาปนาเป็นมเหสี
* มีตำแหน่งเป็นกุ้ยเฟย
* โอรสขึ้นครองราชย์เป็น[[จักรพรรดิเฉิงฮว่า]] จึงได้รับสถาปนาเป็น[[ฮองไทเฮา|พระพันปี]]เชิ่งฉือเหรินโช่ว (聖慈仁壽皇太后) ใน ค.ศ. 1487
* ภายหลังเลื่อนเป็น[[ไทฮองไทเฮา|พระพันปีหลวง]] (太皇太后)
|-
|}
 
====พระมเหสีและพระสนม====
{| class="wikitable"
|-
บรรทัด 103:
! หมายเหตุ
|-
| จิ้งจวงอันมู่เฉินเฟยจิ้งจฺวังอันมู่เฉินเฟย์ (靖莊安穆宸妃)
| วั่น (萬)
|
|-
| ตวนจิ้งอันเหอฮุ่ยเฟยตฺวันจิ้งอันเหอฮุ่ยเฟย์ (端靖安和惠妃)
| หวัง (王)
|
|-
| จวงจิ้งอันหรงซูเฟยจฺวังจิ้งอันหรงชูเฟย์ (莊靜安榮淑妃)
| เกา (高)
|
|-
| กงต้วนจวงฮุ่ยเต๋อเฟยตฺวันจฺวังฮุ่ยเต๋อเฟย์ (恭端莊惠德妃)
| เว่ยเหฺวย์ (韋)
|
|-
| กงเหออันจิ้งออันจิ้งชุ่ยเฟย์ (恭和安靜順妃)
| ฝาน (樊)
|
* เกิดใน ค.ศ. 1414 เสียชีวิตใน ค.ศ. 1470
* เข้าวังใน ค.ศ. 1427
* ได้เป็นบาทบริจาริกาสนมใน ค.ศ. 1457
|-
| จฺวังซีตฺวันซู่อันเฟย์ (莊僖端肅安妃)
| กงเหออันจิ้งซุ่นเฟย
| วั่น (萬)
|
|-
| จฺวังสี่ตฺวันซู่ (莊僖端肅安妃)
| หยาง (楊)
|
|-
| เจาซู่จิ้งตฺวันจิ้งตฺวันเสียนเฟย์ (昭肅靖端賢妃)
| หวัง (王)
|
|-
| เจินชุ่นอี้กงเจินชุ่นอี้กงจิ้งเฟย์ (貞順懿恭敬妃)
| หลิว (劉)
|
|-
| อันเหอหรงจิ้งอหรงจิ้งลี่เฟย์ (安和榮靖麗妃)
| หลิว (劉)
|
|-
| ตฺวันจฺวังตฺวันจฺวังเจาเฟย์ (端莊昭妃)
| อู่ (武)
|
|-
| กงอันเหอเฟย์ (恭安和妃)
| กง (宮)
|
|-
| เจาจิ้งจิ้งกงเฟย์ (昭靜恭妃)
| หลิว (劉)
|
|-
| เจาชุ่นชุ่นลี่เฟย์ (昭順麗妃)
| จาง (張)
|
|-
| เจาอี้เสียนเฟย์ (昭懿賢妃)
| หลี่ (李)
|
|-
| กงจิ้งจิ้งจฺวังเฟย์ (恭靖莊妃)
| จ้าว (趙)
|
|-
| กงสี่ซีเฉิงเฟย์ (恭僖成妃)
| จาง (張)
|
|-
| กงฮุ่ยฮุ่ยเหอเฟย์ (恭惠和妃)
| เหลียง (梁)
|
|-
| ซีเค่อเค่อชงเฟย์ (僖恪充妃)
| ยฺหวี (余)
|
|-
| ฮุ่ยเหอฮุ่ยเหอลี่เฟย์ (惠和麗妃)
| เฉิน (陳)
|
|-
| หรงจิ้งหรงจิ้งเจินเฟย์ (榮靖貞妃)
| หวัง (王)
|
เส้น 206 ⟶ 202:
| ตำแหน่ง = [[จักรพรรดิจีน]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์หมิง]]
| ปี = ค.ศ. 1435-1435–49
| ถัดไป = [[จักรพรรดิจิ่งไท่|จิ่งไท่]]
}}
เส้น 213 ⟶ 209:
| ตำแหน่ง = [[จักรพรรดิจีน]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์หมิง]]
| ปี = ค.ศ. 1457-1457–64
| ถัดไป = [[จักรพรรดิเฉิงฮว่า|เฉิงฮว่า]]
}}