ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทวนิยม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 171.100.183.151 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Geonuch
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ภาพ Gods.jpg ด้วย Jacques_Réattu_—_Les_dieux_du_Panthéon_grec.jpg โดย CommonsDelinker เนื่องจาก File renamed: r#2 จากวิกิมีเดียคอมมอนส์
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:GodsJacques Réattu — Les dieux du Panthéon grec.jpg|320px|thumb|เหล่าทวยเทพในภาพ ''The Triumph of Civilization'' (ชัยชนะแห่งความศิวิไลซ์)]]
 
'''เทวนิยม'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2548</ref> ({{lang-en|Theism}}) ในความหมายอย่างกว้างหมายถึงความเชื่อว่ามี[[พระเป็นเจ้า]]หรือ[[เทพเจ้า]]<ref>{{cite web |url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/theism |title= Merriam-Webster Online Dictionary |accessdate=2011-03-18}}</ref> ความหมายอย่างแคบคือเชื่อแบบ[[เอกเทวนิยม]]ว่ามีพระเจ้าองค์เดียวและทรงสัมพันธ์กับการดำรงอยู่ของ[[เอกภพ]]<ref>''The Oxford Dictionary of the Christian Church, Second Edition'', [[OUP]]</ref><ref>''The [[Oxford Dictionary of World Religions]]'' (1997).</ref><ref>''[[Encyclopædia Britannica]]''.</ref> เทวนิยมยังเชื่อว่า[[พระเจ้าเชิงบุคคล|พระเจ้าทรงเป็นบุคคล]] และมีอำนาจปกครองและจัดการโลกและเอกภพ แนวคิดตามแบบแผนนี้อธิบายพระเจ้าในเชิงเอกเทวนิยมซึ่งปรากฏใน[[ศาสนายูดาห์]] [[ศาสนาคริสต์]] [[ศาสนาอิสลาม]] และ[[ศาสนาฮินดู]]ในบางสำนัก คำว่า Theism ตามแนวคิดนี้เกิดขึ้นในช่วง[[การปฏิวัติวิทยาศาสตร์]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อให้ต่างจากคำว่า[[เทวัสนิยม]] ที่เชื่อว่ามีพระเจ้าเป็นอุตตรภาวะสูงสุด แต่พระเจ้ามิได้ทรงแทรกแซงโลกตามธรรมชาติ และมนุษย์รู้จักพระองค์ได้ด้วยการใช้เหตุผล ไม่ใช่โดยการ[[วิวรณ์]] ส่วน[[สรรพเทวนิยม]]เชื่อว่าสรรพสิ่งคือพระเจ้า และ[[พหุเทวนิยม]]เชื่อว่ามี[[เทวดา]]หลายองค์ แต่ละองค์มีอำนาจต่าง ๆ กันไป