ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอเมืองนนทบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9285128 สร้างโดย 2403:6200:88A2:EF7F:C0F7:ED9F:7C8D:DF1C (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Ekströmz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
 
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
อำเภอเมืองนนทบุรีตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังนี้<ref name="การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรี">{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=115|issue=พิเศษMay 346, ง|pages=76-1031998|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/E/034/76.PDF|datejournal=6ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=115|issue=พิเศษ พฤษภาคม34 2541|languagepages=76-103}}</ref>
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[อำเภอปากเกร็ด]] มีคลองบางบัวทอง, คลองแม่ร่องกร่าง, คลองวัดแดง, แนวกึ่งกลาง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และคลองบางตลาดเป็นเส้นแบ่งเขต
* '''ทิศตะวันออก''' ติดต่อกับ[[เขตหลักสี่]]และ[[เขตจตุจักร]] ([[กรุงเทพมหานคร]]) มีคลองประปาเป็นเส้นแบ่งเขต
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[เขตบางซื่อ]] (กรุงเทพมหานคร) และ[[อำเภอบางกรวย]] มีคลองบางเขน, แนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยา, คลองบางกรวย, คลองธรรมบาล, ถนนบางไผ่พัฒนา, ซอยบางไผ่ ซอย 3 (วัดรวกบางสีทอง), ซอยบางกรวย-ไทรน้อย 30 (วัดรวกบางสีทอง), คลองบางสีทอง, คลองวัดสนาม, ถนนบางศรีเมือง 1, แนวรั้วหมู่บ้านเยาวพรรณ, คลองวัดแดง และคลองบางกอกน้อยเป็นเส้นแบ่งเขต
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[อำเภอบางใหญ่]]และ[[อำเภอบางบัวทอง]] มีคลองวัดยุคันธราวาส, ถนนหลังวัดยุคันธราวาส, ซอยบางกร่าง 25 (หน้าค่าย), ทางหลวงท้องถิ่น นบ.ถ 1-0010 ([[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการฯพัฒนาการ นนทบุรี|โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ]]ฯ - [[วัดสวนแก้ว]]), คลองวัดประชารังสรรค์, คลองอ้อม และคลองบางรักใหญ่เป็นเส้นแบ่งเขต
 
== ประวัติศาสตร์ ==
อำเภอเมืองนนทบุรีในครั้งแรกนั้นมีชื่อว่า '''อำเภอตลาดขวัญ''' ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่ามีฐานะเป็นอำเภอตั้งแต่เมื่อใด แต่ปรากฏชื่ออำเภอนี้ในชื่อเอกสารที่ประกาศลง[[ราชกิจจานุเบกษา]]อย่างน้อยตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2445]] ซึ่งตรงกับรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น '''อำเภอนนทบุรี''' โดยปรากฏชื่อเอกสารเกี่ยวข้องกับชื่ออำเภอนี้ในราชกิจจานุเบกษาอย่างน้อยตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2466]] ที่ว่าการอำเภอตั้งอยู่ในตัวอาคารศาลากลางเมืองนนทบุรี ข้างวัดท้ายเมือง ตำบลตลาดขวัญ<ref name="ประวัติศาสตร์เมืองนนทบุรี">หวน พินธุพันธ์. '''ประวัติศาสตร์เมืองนนทบุรี.''' กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2547, หน้า 17.</ref> (ปัจจุบันอยู่ในเขตตำบลสวนใหญ่)
 
เนื่องจากอำเภอนนทบุรีมีอาณาเขตกว้างขวาง บางท้องที่อยู่ห่างไกลจากตัวอำเภอมาก กระทรวงนครบาล (หน่วยงานที่ดูแลหัวเมืองต่าง ๆ ใน[[กรุงเทพมหานคร|มณฑลกรุงเทพ]]ขณะนั้น) จึงพิจารณาโอนตำบลท่าอิฐซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือไปขึ้นกับ[[อำเภอปากเกร็ด]]ในปี [[พ.ศ. 2463]]<ref>{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=37|issue=0March ก|pages=43413, 1920|title=ประกาศกระทรวงนครบาล เรื่องเปลี่ยนนามตำบลบางบัวทอง เปนตำบลอ้อมเกร็ด ตำบลพระภิมลเปนตำบลบางบัวทอง แลโอนท้องที่ตำบลบางพลับ ตำบลอ้อมเกร็ด ตำบลท่าอิฐ ไปรวมในท้องที่อำเภอปากเกร็ด|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2463/A/434.PDF|datejournal=13 มีนาคม 2463ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=37|issue=0 ก|pages=434}}</ref> และโอนตำบลบางเลนซึ่งตั้งอยู่ทางด้านตะวันตกสุดของอำเภอไปขึ้นกับ[[อำเภอบางใหญ่|กิ่งอำเภอบางแม่นาง]] [[อำเภอบางกรวย|อำเภอบางใหญ่]] ([[อำเภอบางกรวย]]ในปัจจุบัน) เพื่อรวมกับอีก 5 ตำบลได้แก่ ตำบลบางแม่นาง ตำบลบ้านใหม่ ตำบลเสาธงหิน ตำบลบางใหญ่ ตำบลบางม่วง ของ[[อำเภอบางใหญ่|กิ่งอำเภอบางแม่นาง]] [[อำเภอบางกรวย|อำเภอบางใหญ่]] ตั้งขึ้นเป็น[[อำเภอบางใหญ่|อำเภอบางแม่นาง]]ในปี [[พ.ศ. 2464]]<ref>{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=38|issue=0April 24, |pages=23-241921|title=ประกาศกระทรวงนครบาล เรื่อง ตั้งอำเภอบางแม่นาง จังหวัดนนทบุรี|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2464/A/23.PDF|datejournal=24 เมษายน 2464ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=38|issue=0 ก|pages=23-24}}</ref> ณ ปี [[พ.ศ. 2470]] อำเภอนนทบุรีจึงเหลือท้องที่การปกครองอยู่ 12 ตำบล ได้แก่ ตำบลตลาดขวัญ ตำบลบางกระสอ ตำบลท่าทราย ตำบลลาดโตนด ตำบลบางเขน ตำบลบางตะนาวศรี (สวนใหญ่) ตำบลบางไผ่ ตำบลบางสีเมือง (บางศรีเมือง) ตำบลบางกร่าง ตำบลบางข่า ตำบลบางรักน้อย และตำบลไทรม้า<ref>กระทรวงมหาดไทย. '''ทำเนียบท้องที่ หัวเมือง กระทรวงมหาดไทย พระพุทธศักราช ๒๔๗๐.''' พระนคร: โรงพิมพ์หนังสือพิมพ์ไทย, 2471, หน้า 11.</ref>
 
ในวันที่ [[26 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2475]] ทางราชการได้โอนพื้นที่ตำบลลาดโตนดซึ่งตั้งอยู่ทางฟากตะวันออกของ[[คลองประปา]]ไปขึ้นกับ[[เขตบางเขน|อำเภอบางเขน]] [[จังหวัดพระนคร]] เพื่อความสะดวกในการตรวจตราของเจ้าหน้าที่และความสะดวกในการติดต่อราชการของประชาชน<ref>{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=49|issue=0October ก|pages=475-47626, 1932|title=พระบรมราชโองการ ประกาศ โอนตำบลลาดโตนด อำเภอนนทบุรี และตำบลทุ่งสองห้อง อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มาขึ้นอำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร |url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2475/A/475.PDF|datejournal=26 ตุลาคม 2475ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=49|issue=0 ก|pages=475-476}}</ref> เท่ากับว่าแนวเขตการปกครองระหว่างจังหวัดทั้งสองได้เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย เนื่องจากแต่เดิมจังหวัดนนทบุรีมีอาณาเขตด้านตะวันออกติดต่อกับจังหวัดพระนครโดยใช้[[คลองเปรมประชากร]]ตั้งแต่สี่แยกบางเขนขึ้นไปจนถึงคลองบ้านใหม่ตลาดเนื้อเป็นเส้นแบ่งเขต<ref>กรมแผนที่ทหาร. กองบัญชาการทหารสูงสุด. '''แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2431-2474 = Maps of Bangkok, A.D. 1888-1931.''' พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: กรมแผนที่ทหาร, 2542.</ref> ในช่วงนี้อำเภอนนทบุรีได้ย้ายที่ว่าการอำเภอมาอยู่ที่[[โรงเรียนราชวิทยาลัย]] บ้านบางขวาง ตำบลบางตะนาวศรีแล้ว (ปัจจุบันคือศาลากลางจังหวัดหลังเก่าบริเวณ[[ท่าน้ำนนทบุรี]] ตำบลสวนใหญ่) ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2471]]<ref name="ประวัติศาสตร์เมืองนนทบุรี"/> และในปี พ.ศ. 2481 ได้มีการเปลี่ยนแปลงเขต[[จังหวัดนนทบุรี]]และ[[จังหวัดพระนคร]] โดยโอนพื้นที่หมู่ 1,3 (ในขณะนั้น) ของตำบลลาดโตนด และหมู่ 1 (ในขณะนั้น) ของตำบลท่าทราย อำเภอเมืองนนทบุรี เฉพาะส่วนที่อยู่ในเขตหวงห้ามของ[[คลองประปา]]ฝั่งตะวันตก ไปขึ้นกับ[[แขวงทุ่งสองห้อง|ตำบลสองห้อง]] [[เขตบางเขน|อำเภอบางเขน]] โดยใช้แนวเขตหวงห้ามของคลองประปาฝั่งตะวันตกเป็นเส้นเขต<ref>{{cite journal|date=April 1, 1937|title=พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด พุทธศักราช ๒๔๗๙|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2480/A/40.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=54|issue=0 ก|pages=40-54}}</ref>
 
ในวันที่ [[14 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2481]] ได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนชื่ออำเภอนนทบุรีเป็น '''อำเภอเมืองนนทบุรี'''<ref>{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=55|issue=|0November ก|pages=658-66614, 1938|title=พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนนามจังหวัด และอำเภอบางแห่ง พุทธศักราช ๒๔๘๑|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2481/A/658.PDF|datejournal=14 พฤศจิกายน 2481ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=55|issue=0 ก|pages=658-666|}}</ref> ทั้งนี้ เนื่องมาจากทางราชการมีนโยบายเปลี่ยนชื่ออำเภอที่เป็นที่ตั้งจังหวัดเป็น "อำเภอเมือง..." อย่างไรก็ตามในวันที่ [[110 มกราคม]]ธันวาคม [[พ.ศ. 2486]]2485 จังหวัดนนทบุรีก็ถูกยุบลงเพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณราชการ<ref name=":0">{{cite journal|date=December 10, 1942|title=พระราชบัญญัติยุบและรวมการปกครองบางจังหวัด พุทธศักราช ๒๔๘๕|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2485/A/077/2447.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=59|issue=77 ก|pages=2447-2449}}</ref> เนื่องจากขณะนั้นอยู่ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย|สงครามโลกครั้งที่ 2]] ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ อำเภอเมืองนนทบุรีจึงย้ายไปขึ้นกับ[[จังหวัดพระนคร]]และได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนชื่อเป็น "อำเภอนนทบุรี"<ref>{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=60|issue=3January ก|pages=103-10512, 1943|title=พระราชกริสดีกาเปลี่ยนชื่ออำเพอบางแห่ง พุทธสักราช ๒๔๘๖|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2486/A/003/103.PDF|datejournal=12 มกราคม 2486ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=60|issue=3 ก|pages=103-105}}</ref> จนกระทั่งวันที่ [[9 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2489]] ได้มีพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดนนทบุรีขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง<ref>{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=63|issue=29May ก|pages=315-3179, 1946|title=พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช ๒๔๘๙|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/029/315.PDF|datejournal=9 พฤษภาคม 2489ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=63|issue=29 ก|pages=315-317}}</ref> อำเภอนนทบุรีจึงเปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น "อำเภอเมืองนนทบุรี"<ref>{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=63|issue=63September ก|pages=486-48824, 1946|title=พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนชื่ออำเภอบางแห่ง พ.ศ. ๒๔๘๙|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/063/486.PDF|datejournal=28 กันยายน 2498ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=63|issue=63 ก|pages=486-488}}</ref> ตั้งแต่นั้น
 
ตลอดเวลาที่ผ่านมาได้มีการปรับปรุงเขตการปกครองระดับตำบลภายในท้องที่อยู่เนือง ๆ เช่น ตำบลบางไผ่ถูกยุบรวมเข้ากับตำบลบางศรีเมือง ตำบลบางข่าถูกยุบรวมเข้ากับตำบลบางกร่าง เป็นต้น จนกระทั่งในวันที่ [[8 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2490]] ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยจัดตั้งตำบลขึ้นใหม่อีกครั้ง โดยแบ่งพื้นที่บางส่วนหมู่ 6,7,8,9,10 (ในขณะนั้น) จากตำบลบางศรีเมืองมาจัดตั้งเป็นตำบลบางไผ่ และรวมพื้นที่บางส่วนจากหมู่ที่ 6,7,8,9,10 (ในขณะนั้น) ของตำบลไทรม้าและหมู่ที่ 11 (ในขณะนั้น) ของตำบลบางกร่างมาจัดตั้งเป็นตำบลบางรักน้อย มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ [[1 มิถุนายน]] ปีเดียวกัน<ref>{{cite journal|journaldate=ราชกิจจานุเบกษา|volume=64|issue=26June ง|pages=1114-143310, 1947|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งตำบลในจังหวัดต่าง ๆ|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2490/D/026/1114.PDF|datejournal=10 มิถุนายน 2490ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=64|issue=26 ง|pages=1114-1433}}</ref> อำเภอเมืองนนทบุรีจึงแบ่งออกเป็น 10 ตำบลจนถึงทุกวันนี้ และในวันที่ 2 สิงหาคม 2492 ได้มีการโอนพื้นที่หมู่ 10 บ้านบางประดู่ (ในขณะนั้น) ของตำบลบางกร่าง ไปตั้งเป็นหมู่ 6 ของตำบลไทรม้า<ref>{{cite journal|date=August 2, 1949|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2492/D/042/3611.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=66|issue=42 ง|pages=3611-3612}}</ref>
 
เมื่อปี [[พ.ศ. 2535]] ที่ว่าการอำเภอเมืองนนทบุรีได้ย้ายที่ตั้งอีกครั้งหนึ่งจากบริเวณโรงเรียนราชวิทยาลัยเดิม ไปอยู่ที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี [[ถนนรัตนาธิเบศร์]] ใกล้[[สี่แยกแคราย]] หมู่ที่ 8 ตำบลบางกระสอ และต่อมาในปี พ.ศ. 2541 ได้มีการปรับปรุงเขตการปกครองระดับตำบลภายในท้องที่อีกครั้ง โดยกำหนดให้ท้องที่ทั้ง 10 ตำบลต้องกำหนดเขตการปกครองใหม่<ref name="การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรี" /> ให้มีความถูกต้องแม่นยำ และวันที่ 24 มีนาคม 2548 ได้ปรับเขตท้องที่ตำบลไทรม้า<ref>{{cite journal|date=March 24, 2005|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2548/00155272.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=122|issue=24 ง|pages=61-63}}</ref> อีกครั้ง เนื่องจากเพื่อต้องการให้เขตการปกครองเป็นไปตามข้อเท็จจริงที่ปรากฎในแผนที่
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==