ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอเกาะสีชัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Billner2009 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ekströmz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
}}
 
'''อำเภอเกาะสีชัง''' ตั้งอยู่ใน[[อ่าวไทย]] นอกชายฝั่ง[[อำเภอศรีราชา]] [[จังหวัดชลบุรี]] เป็นอำเภอที่เล็กที่สุดใน[[ประเทศไทย]]<ref>[https://travel.mthai.com/region/159084.html 49 เรื่องน่ารู้ ความเป็นที่สุดในประเทศไทย]</ref> แต่เดิมขึ้นอยู่กับ[[จังหวัดสมุทรปราการ]] มีหลวงศรีชลังคณารักษ์ เป็นผู้รักษาราชการ ต่อมาถูกย้ายไปขึ้นกับ[[จังหวัดชลบุรี]]ในปี พ.ศ. 2486<ref>[http://www.sichangisland.com/sichangisland/thailand-sichang-history-01.php ประวัติเกาะสีชัง]</ref><ref name="พรบ.2485">{{cite web|date=December 10, 1942|title=พระราชบัญญัติยุบและรวมการปกครองบางจังหวัด พุทธสักราช 2485|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2485/A/077/2447.PDF|titleurl-status=พระราชบัญญัติยุบและรวมการปกครองบางจังหวัด พุทธสักราช 2485live|publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]]|date=10 ธันวาคม พ.ศ. 2485|accessdate=16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559}}</ref>
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 24:
นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ประสูติพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ''([[เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก|เจ้าฟ้าจุฑาธุชฯ]])'' และสร้าง[[พระจุฑาธุชราชฐาน]] ณ เกาะแห่งนี้อีกด้วย ซึ่งทำให้เกาะสีชังเป็นเพียงเกาะเดียวในประเทศไทยที่มีพระราชวังหรือเขตพระราชฐานตั้งอยู่<ref>{{cite web|url=http://www.youtube.com/watch?v=b0J-uQy42vM|title=แฟนพันธุ์แท้ 25 เมษายน 2557 - เกาะทะเลไทย|date=25 April 2014|accessdate=29 April 2014|publisher=แฟนพันธุ์แท้}}</ref>
 
* วันที่ 27 กรกฎาคม 2476 ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา ในท้องที่ตำบลท่าเทววงศ์ กิ่งอำเภอเกาะสีชัง [[จังหวัดสมุทรปราการ]]<ref>{{cite journal|date=July 27, 1933|title=ประกาศกระทรวงธรรมการ เรื่อง ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔ เพิ่มเติมในท้องที่กรุงเทพมหานคร|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2476/A/402.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=50|issue=0 ก|pages=402}}</ref>
== ที่มาของชื่อ ==
* วันที่ 1 มกราคม 2486 ให้กิ่งอำเภอเกาะสีชัง ที่ได้รับโอนมาจาก[[จังหวัดสมุทรปราการ]] กำหนดให้ขึ้นการปกครองกับ[[อำเภอศรีราชา]]<ref>{{cite journal|date=January 1, 1943|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ให้กิ่งอำเภอเกาะสีชัง ขึ้นกับอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2486/D/001/6.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=60|issue=1 ง|pages=6}}</ref>
 
* วันที่ 26 มกราคม 2500 จัดตั้งสุขาภิบาลเกาะสีชัง ในท้องที่บางส่วนของตำบลท่าเทววงษ์<ref>{{cite journal|date=January 26, 1957|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลเกาะสีชัง กิ่งอำเภอเกาะสีชัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/D/010/6.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=74|issue=10 ง|pages=(ฉบับพิเศษ) 6-7}}</ref>
เรื่องราวที่เกี่ยวกับชื่อของเกาะสีชังนั้น เป็นภาษาที่ถือเอาความหมายได้ยาก นักวิชาการทางภาษาได้ตั้งข้อสันนิษฐานถึงความหมายและที่มาของคำว่า "สีชัง" ไว้ดังนี้<ref>[http://www.sichangisland.com/sichangisland/thailand-sichang-history-01.php/ ประวัติเกาะสีชัง]วันที่เรียกข้อมูล 20 มี.ค.55 : จาก www.sichangisland.com</ref>
* วันที่ 23 มีนาคม 2519 ตั้งที่ทำการไปรษณีย์เกาะสีชัง<ref>{{cite journal|date=March 23, 1976|title=ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง ตั้งที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขเกาะสีชัง|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/D/050/670.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=93|issue=50 ง|pages=670}}</ref> [[จังหวัดชลบุรี]]
* วันที่ 3 มิถุนายน 2537 ยกฐานะจากกิ่งอำเภอเกาะสีชัง อำเภอศรีราชา เป็น '''อำเภอเกาะสีชัง'''<ref name=":1">{{cite journal|date=June 3, 1994|title=พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอเปือยน้อย อำเภอภูผาม่าน อำเภอราชสาส์น อำเภอเกาะสีชัง อำเภอไชยปราการ อำเภอนาหมื่น อำเภอสันติสุข อำเภอพลับพลาชัย อำเภอทุ่งยางแดง อำเภอไม้แก่น อำเภอศรีสมเด็จ อำเภอน้ำเกลี้ยง อำเภอบึงบูรพ์ อำเภอเจริญศิลป์ อำเภอนิคมน้ำอูน อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอนาหม่อม อำเภอท่าแพ อำเภอชัยบุรี และอำเภอศรีวิไล พ.ศ. ๒๕๓๗|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2537/A/021/32.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=111|issue=21 ก|pages=32-34}}</ref>
* สีชัง เป็นภาษาของชนชาติหนึ่งที่เป็นชนเผ่าของ[[มอญ]] เรียกว่า [[สำแล]] (ซัมฮะแล)
* วันที่ 25 ธันวาคม 2539 ยกฐานะจากสภาตำบลท่าเทววงษ์ เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเทววงษ์<ref>{{cite journal|date=December 24, 1996|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/E/052/1.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=113|issue=ตอนพิเศษ 52 ง|pages=1-365}}</ref>
* วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลเกาะสีชัง เป็นเทศบาลตำบลเกาะสีชัง<ref>{{cite journal|date=February 24, 1999|title=พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. ๒๕๔๒|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/A/009/1.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=116|issue=9 ก|pages=1-4}}</ref> ด้วยผลของกฎหมาย
* สีชัง มาจาก[[ภาษาจีน]]คำว่า "ซีซัน" ซึ่งหมายถึง "สี่คนทำไร่" โดยมีเรื่องราวเล่าว่ามีพ่อค้าเรือสำเภาจีน 4 นาย ล่องเรือค้าขายมาถึงเกาะแห่งหนึ่ง เกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายในธุรกิจการค้ามาตั้งรกราก และหันมาประกอบอาชีพทำไร่อยู่บนเกาะ ซึ่งต่อมาคำว่า "ซีซัน" จึงแผลงมาเป็น "สีชัง"
* วันที่ 5 ตุลาคม 2547 ยุบองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเทววงษ์ รวมกับเทศบาลตำบลเกาะสีชัง<ref>{{cite journal|date=October 5, 2004|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การยุบรวมองค์การบริหารส่วนตำบลกับเทศบาล|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0E/00149897.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=121|issue=ตอนพิเศษ 111 ง|pages=10-11}}</ref>
* สีชัง มาจากคำว่า "สีห์ชงฆ์" ซึ่งหมายถึง แข้งสิงห์ ซึ่งเป็นรูปร่างของเกาะ
* มีตำนานเชื่อว่า [[ฤๅษี]]องค์หนึ่งเกิดเบื่อหน่ายโลกีย์วิสัย มาพำนักบำเพ็ญพรตจนมีชื่อเสียงเป็นที่เคารพนับถือชาวบ้าน ต่อมาจึงเรียกเกาะนี้ว่า "เกาะฤษีชัง" ซึ่งต่อมากร่อนเหลือเพียง "ษีชัง" และ "สีชัง" ในปัจจุบัน
 
* จากหนังสือ "[[กำสรวลศรีปราชญ์]]" ซึ่งแต่งไว้เมื่อราวปีพุทธศักราช 2235 ปรากฏเรียกเกาะสีชังว่า '''สระชัง''' เช่นในโคลงบทที่ 78 ได้พรรณนาถึงเกาะสีชังไว้ดังนี้
 
{{คำพูด|มุ่งเห็นละล่ายน้ำ ตาตก แม่ฮา
เกาะ'''สระชง'''งชลธี โอบอ้อม
มลกกเห็นไผ่รยงรก เกาะไผ่ พู้นแม่
ขยวสระดื้อล้ำย้อม ยอดคราม|}}
 
จากหลักฐานดังกล่าว แสดงให้เห็นว่านาม “สระชัง” คงจะเรียกขานกันมาก่อนปีพุทธศักราช 2235 เข้าใจว่า ต่อมาการออกเสียง “สระชัง” อาจเพี้ยนไปเป็น “สีชัง" ส่วนที่มาของคำว่า "สระชัง" นี้นก็เป็นไปได้อีกหลายข้อสันนิษฐาน คือ
 
** "สระชัง" หมายถึง การ "ชะล้างเอาความเกลียดชังออกไป" ไม่ใช่สระน้ำแห่งความชิงชัง
** "สระชัง" เพี้ยนมาจากคำว่า "สทึง" หรือ "จทึง" ที่แปลว่า แม่น้ำ หรือ ห้วงน้ำ ในภาษาเขมร
 
* มุขปาฐะบางอันเล่าว่า สี กับ ชัง เป็นชื่อบุคคลผู้มาตั้งรกรากทำมาหากินอยู่บนเกาะนี้เป็นคู่แรก อย่างไรก็ตาม
 
== ภูมิศาสตร์ ==
'''สภาพที่ตั้งและภูมิประเทศ'''
 
เกาะสีชังอยู่ที่พิกัดเส้นรุ้ง 13 องศา ถึง 12 องศาเหนือและระหว่างเส้นแวง 10 องศา 48 ลิปดา ถึง 100 องศา 51 ลิปดา ตั้งอยู่ตะวันออกบริเวณก้นอ่าวไทยตรงกันข้ามกับอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ห่างจากจังหวัดชลบุรี ประมาณ 35 กม.อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 117 กม. และห่างจากศรีราชาประมาณ 12 กม. รวมเนื้อที่ประมาณ 7.9 ตารางกิโลเมตร ประชาชนอาศัยอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะสีชัง เกาะสีชังมีสภาพภูมิประเทศเป็นเกาะกลางทะเลประกอบด้วย 9 เกาะ พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นภูเขา โขดหิน ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ มีพื้นที่ราบทำการเพาะปลูกได้ประมาณ 500ไร่ ไม่มีแม่น้ำลำธารแลหนองบึง บริเวณจุดสูงสุดคือบริเวณยอดเขาซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของเกาะสีชังมีความสูงประมาณ 192 เมตร จากระดับน้ำทะเล
 
'''ความสูง'''
 
*ความสูงระหว่าง 0 - 50 เมตร จากระดับน้ำทะเล มีประมาณร้อยละ 67
*ความสูงระหว่าง 50 - 100 เมตร จากระดับน้ำทะเล มีประมาณร้อยละ 26
*ความสูงระหว่าง 100 - 150 เมตร จากระดับน้ำทะเล มีประมาณร้อยละ 6
*ความสูงตั้งแต่ 150 เมตรขึ้นไป จากระดับน้ำทะเล มีประมาณร้อยละ 1
 
'''ความลาดชัน'''
 
*ต่ำกว่า 10% ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 30
*10 - 20 %ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 26
*เกิน 20 % ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 44
จากความที่มีลักษณะพื้นที่ลาดชันเกินร้อยละ 20 ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 44 จึงเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอย่างเห็นได้ชัด ส่วนพื้นที่ที่มีความลาดชันต่ำกว่าร้อยละ 10 จะเป็นบริเวณชุมชนในปัจจุบันซึ่งมีความหนาแน่นของประชากรมาก
 
'''ลักษณะภูมิอากาศ'''
 
โดยทั่วไปของเกาะสีชังเป็นแบบพื้นที่ทะเลในเขตร้อนอยู่ภายใต้อิทธิพลลมมรสุมที่พัดปกคลุมอุณหภูมิตลอดทั้งปีมีค่า 28.5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ย 31.3 องศาเกาะสีชังประกอบด้วย 3 ฤดู คือ
 
*''ฤดูร้อน'' - เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม
 
*''ฤดูฝน'' - เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม
 
*''ฤดูหนาว'' - เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์
 
ข้อมูลทางสถิติกรมอุตุนิยมวิทยา (สถานีอุตุนิยมวิทยาเกาะสีชัง) เนื่องจากเกาะสีชังได้รับอิทธิพลลมหนาวจากทิศเหนือที่พัดผ่านประเทศจีนจะพัดเข้าสู่ด้านหน้าเกาะสีชังตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ต่อจากนั้นจะมีลมมรสุมพัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ขึ้นสู่ตะวันออกเฉียงเหลือตั้งแต่มีนาคมถึงเดือนตุลาคมของทุกปีจากการศึกษาในช่วง 10 ปี (2539-2549) ปริมาณน้ำฝนของเกาะสีชังมีค่าเฉลี่ยตลอดปีเท่ากับ 1,148.8 มิลลิเมตร เดือนกันยายนเป็นเดือนที่ฝนตกชุกมากที่สุดวัดได้ 137 มิลลิเมตร และประมาณน้ำฝนน้อยที่สุดในเดือนมกราคมคือ 6 มิลลิเมตร เฉลี่ยวันที่ฝนตกบนเกาะสีชังประมาณปีละ 101 วัน
 
'''เกาะสีชังมีเกาะบริวารรวม 8 เกาะ'''
 
*เกาะขามใหญ่ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะสีชัง
*เกาะขามน้อย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะสีชัง
*เกาะปรง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะสีชัง
*เกาะร้านดอกไม้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะสีชัง
*เกาะสัมปันยื้อ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะสีชัง
*เกาะยายท้าว ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเกาะสีชัง
*เกาะค้างคาว ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเกาะสีชัง
*เกาะท้ายตาหมื่น ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเกาะสีชัง
 
'''อาณาเขตติดต่อกับอำเภอและจังหวัดใกล้เคียงดังนี้'''
 
ทิศเหนือ-จดทะเลเขตอำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
 
ทิศใต้-จดทะเลเขตอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
 
ทิศตะวันออก-จดทะเลเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
 
ทิศตะวันตก-จดทะเลเขตอำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
=== การปกครองส่วนภูมิภาค ===
อำเภอเกาะสีชังมีแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 1 [[ตำบล]] 7 [[หมู่บ้าน]] คือได้แก่
{|
||1.||ตำบลท่าเทววงษ์|||| (Tha Thewawong) |||||| 7 หมู่บ้าน
เส้น 111 ⟶ 42:
=== การปกครองส่วนท้องถิ่น ===
อำเภอเกาะสีชังประกอบด้วย[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]] 1 แห่ง คือ
* '''[[เทศบาลตำบลเกาะสีชัง]]''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่าเทววงษ์ทั้งตำบล แยกเป็นเขตเทศบาลจำนวน 7 ชุมชน<!--อบต.ท่าเทววงษ์ถูกยุบรวมแล้ว http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0E/00149897.PDF http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/E/072/47.PDF-->
 
== ประชากร ==
 
ข้อมูลด้านสังคม ประชากรและครัวเรือน เกาะสีชัง มีจำนวนครัวเรือน 1,633 ครัวเรือน เกาะสีชังมีประชากร 5,400 คน แยกเป็นชาย 2,787 คน หญิง 2,613 คน เกาะสีชัง มีจำนวนการทำประมงพื้นบ้าน 20 ครัวเรือน นอกจากนี้เกาะสีชังยังมีประชากรแฝงอีกประมาณ 3,000 คนเศษ ซึ่งได้แก่ กลุ่มคนรับจ้างที่มากับเรือขนส่งสินค้า กลุ่มคนที่มาทำงานโดยไปกลับทุกวัน ข้าราชการของหน่วยงานต่าง ๆ เป็นต้น
ภาษา
ประชาชรบนเกาะส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร
 
ศาสนา
ประชากรส่วนใหญ่ของเกาะสีชังนับถือศาสนาพุทธ ประมาณ 95 % และศาสนาอื่น ๆ ประมาณ 5 %
 
การศึกษา
เกาะสีชังจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยในระดับก่อนประถมศึกษาจัดให้บริการทั้งภาครัฐและเอกชน ส่วนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาจัดให้บริการเฉพาะภาครัฐเท่านั้น
 
== เหตุการณ์สำคัญ ==
* '''(ไม่ทราบวันที่) พฤษภาคม พ.ศ. 2456''' เรือกลไฟบางเบิดได้เกิดเหตุเรือล่ม ไม่ทราบจำนวนผู้เสียชีวิต
* '''8 มีนาคม พ.ศ. 2535''' เวลา 5.00 น. เรือโดยสาร "นาวาประทีป 111" เดินทางออกจากท่าเรือเกาะสีชัง ไปยังท่าเทียบเรือท่องเที่ยว[[เกาะลอย]] [[อำเภอศรีราชา]] [[จังหวัดชลบุรี]] จุผู้โดยสาร 134 คน มีนายประยูร ย๊ะกบ เป็นกัปตันเรือ ระหว่างที่เรือแล่นอยู่ห่างจากฝั่งศรีราชาประมาณ 7 กิโลเมตร ได้มีเรือบรรทุกน้ำมันของบริษัท บีพีพี จำกัด มีกัปตันเรือคือ นายปรีชา เพชรชู ได้ขับเรือชนเข้าที่บริเวณท้ายเรือ ส่งผลให้ท้ายเรือหักเป็นสองท่อนและจม มีผู้เสียชีวิต 119 ราย
* '''วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2561''' มีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 4 ราย โดยเรือบรรทุกสินค้าชื่อ "ไฮเดอราบัต" ชนเข้ากับเรือประมงโชคชูชัย
 
== สถานที่สำคัญ ==
 
'''หน่วยงานราชการ'''
 
# ที่ทำการปกครองอำเภอเกาะสีชัง
# ฝ่ายทะเบียนและบัตรเกาะสีชัง
# หน่วยสัสดีอำเภอเกาะสีชัง
# โรงพยาบาลเกาะสีชัง
# เทศบาลเกาะสีชัง
# สำนักงานสาธารณสุขเกาะสีชัง
# สถานีตำรวจภูธรเกาะสีชัง
# สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองเกาะสีชัง
# สำนักงานศุลกากรเกาะสีชัง
# สำนักงานที่ดินเกาะสีชัง
# สำนักงานสรรพากรเกาะสีชัง
# สำนักงานพัฒนาชุมชนเกาะสีชัง
# สถานีอุตุนิยมวิทยาเกาะสีชัง
# งานตำรวจน้ำเกาะสีชัง
# ด่านที่ทอดเรือภายนอกสีชัง
# สำนักงานท้องถิ่นเกาะสีชัง
# สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำและศูนย์ฝึกนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
# โรงเรียนเกาะสีชัง
# โรงเรียนจุฑาทิศเทววงษ์เกาะสีชัง
# ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนเกาะสีชัง
 
'''หน่วยงานเอกชน'''
 
# สำนักงานพัฒนาชุมชนเกาะสีชัง
# ที่ทำการปกครองอำเภอ ''(กลุ่มงานชีววิถีโครงการเรียนรู้ชีววิถีเกาะสีชัง)''
 
== ประเพณีและวัฒนธรรม ==
 
*'''สักการะเจ้าพ่อเขาใหญ่'''
 
สถานที่:ศาลเจ้าเขาใหญ่
เริ่มตั้งแต่วันตรุษจีน ปี 2551 เริ่มวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2551 ประมาณ 45 วัน
 
*'''ประเพณีวันสงกรานต์''' ''(รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ)''
 
สถานที่:วัดจุฑาทิศธรรมสภารามวรวิหาร หมู่ 6 วันที่ 17 เมษายน เวลาประมาณ 14.00 น.เริ่มขบวนแห่
 
*'''ประเพณีสงกรานต์วันไหลในวันสงกรานต์''' ''(เป็นกิจกรรมต่อเนื่องจากเกาะสีชังไปเกาะขามใหญ่)''
 
สถานที่: บ้านเกาะขามใหญ่ หมู่ 7 วันที่ 18 เมษายน ''(เช้า)'' ของทุกปี
 
*'''ประเพณีสงกรานต์ วันกองข้าว'''
 
สถานที่: พระจุฑาธุชราชฐาน หมู่ 3 วันที่ 19 เมษายน ''(บ่าย)'' ของทุกปี
 
*'''งานวันรำลึก 100 ปี สีชัง'''
 
สถานที่: พระจุฑาธุชราชฐาน หมู่ 3 วันที่ 20 กันยายน ''(ทั้งกลางวัน กลางคืน)'' ของทุกปี
 
== สถานที่ท่องเที่ยว ==
[[ไฟล์:Phra Chuthathut Palace (III).jpg|thumb|right|250px|พระเจดีย์อุโบสถ วัดอัษฎางคนิมิตร]]
* [[ศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่]]
*[[พระจุฑาธุชราชฐาน]]
* พระเจดีย์อุโบสถ [[วัดอัษฎางคนิมิตร]]
* หาดถ้ำพัง หรือ อ่าวอัษฎางค์
* แหลมจักรพงษ์
* [[ช่องอิศริยาภรณ์]] ''(เขาขาด)'' และหาดหินกลม
* พลับพลาที่ประทับชมวิวของรัชการที่ 5 ''(เขาขาด)''
* แหลมมหาวชิราวุธ ''(แหลมสลิด)''
* [[วัดจุฑาทิศธรรมสภารามวรวิหาร]]
* รอยพระพุทธบาทจำลอง
* เก๋งจีน
* ถ้ำจักรพงษ์และพระเหลือง
* วัดถ้ำยายปริก
* แหลมงู
* ท่ายายทิม
* เกาะยายท้าว
* เกาะค้างคาว
* [[เกาะขามใหญ่]]
* หลักศิลาจารึก
* [[พิพิธภัณฑ์ชลทัศนสถาน]]
 
== อ้างอิง ==