ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจตนา นาควัชระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
บอต: แทนที่หมวดหมู่ สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม. ด้วย ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ศาสตราจารย์เกียรติคุณ เจตนา นาควัชระ''' (เกิดวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 —) เป็นอดีตคณบดี[[คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะอักษรศาสตร์]] และอดีตรองอธิการบดี แห่ง[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] ดร. เจตนา ยังเป็นนักวิจารณ์วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงและโดดเด่นคนหนึ่งในสังคมไทย นอกจากนี้ยังเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "วัฒนธรรมแห่งการวิจารณ์"<ref>เจตนา นาควัชระ.(2552) พลังปัญญาทางมนุษยศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ โครงการวิถีทรรศน์ (หน้า 59)</ref> "สายกลางแห่งการวิจารณ์"<ref>เจตนา นาควัชระ.(2555) ทางสายกลางแห่งวิจารณ์(พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ Openbooks (หน้า 9)</ref> และ "วานรชำราบ"<ref>เจตนา นาควัชระ.(2542) ลบเส้นพรมแดนแห่งศิลปะ(พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (หน้า 12)</ref> เป็นต้น
ดร. เจตนา ยังเป็นนักวิจารณ์วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงและโดดเด่นคนหนึ่งในสังคมไทย นอกจากนี้ยังเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "วัฒนธรรมแห่งการวิจารณ์"<ref>เจตนา นาควัชระ.(2552) พลังปัญญาทางมนุษยศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ โครงการวิถีทรรศน์ (หน้า 59)</ref> "สายกลางแห่งการวิจารณ์"<ref>เจตนา นาควัชระ.(2555) ทางสายกลางแห่งวิจารณ์(พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ Openbooks (หน้า 9)</ref>
และ "วานรชำราบ"<ref>เจตนา นาควัชระ.(2542) ลบเส้นพรมแดนแห่งศิลปะ(พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (หน้า 12)</ref> เป็นต้น
 
== ประวัติ ==
เส้น 18 ⟶ 16:
== แนวคิด ==
{{คำพูด|คนจนนั้นใช่ว่าจะถูกกำหนดด้วยสิ่งแวดล้อมจนเป็นทาสของวัตถุไปอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ คนจนยังมีความเป็นมนุษย์ คนจนยังมีทางเลือกที่จะเป็นอิสระ เป็นไทแก่ตัวเอง นั้นก็คือการเปลี่ยนสภาพ เปลี่ยนถิ่นฐาน จากความจนชนิดหนึ่งไปสู่ความจนอีกแบบหนึ่งนั่นเอง<ref>เจตนา นาควัชระ (2530). ทางอันไม่รู้จบของวัฒนธรรมแห่งการวิจารณ์ (พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ: เทียนวรรณ </ref>|เจตนา นาควัชระ}}
 
== หนังสือที่เขียนขึ้น ==
* กวีนิพนธ์เยอรมัน : บทวิเคราะห์และสรรนิพนธ์ : รายงานการวิจัย 2541