ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจงกิส ข่าน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9422025 สร้างโดย 2001:FB1:C2:8EDB:F0CF:1ECD:2F25:F375 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 19:
}}
 
'''เจงกีสนวย ข่าน''' ({{lang-mn|Чингис Хаан, Chinggis Khaan, Činggis Qaɣan}}; {{IPAc-en|ˈ|ɡ|ɛ|ŋ|ɡ|ɪ|s|_|ˈ|k|ɑː|n}} หรือ {{IPAc-en|ˈ|dʒ|ɛ|ŋ|ɡ|ɪ|s|_|ˈ|k|ɑː|n}},<ref>{{cite encyclopedia |year=2004 |title=Genghis Khan |encyclopedia=Webster's New World College Dictionary |publisher=Wiley Publishing |url=http://www.yourdictionary.com/genghis-khan |accessdate=July 29, 2011}}</ref><ref>{{cite encyclopedia |year=2011 |title=Genghis Khan |encyclopedia=Oxford Dictionaries Online |publisher=Oxford University Press |url=http://oxforddictionaries.com/definition/Genghis+Khan?region=uk |accessdate=July 29, 2011}}</ref>; {{lang-en|Genghis Khan}}; ประมาณ ค.ศ. 1155/ค.ศ. 1162 – 18 สิงหาคม ค.ศ. 1227) จักรพรรดินักรบชาว[[มองโกล]]ผู้พิชิต ทรงก่อตั้ง[[จักรวรรดิมองโกล]] มีพระนามเดิมว่า ''เตมูจิน'' (Temüjin) ตามสถานที่พระราชสมภพริมฝั่ง[[แม่น้ำโอนอน]] ทรงเป็นผู้นำครอบครัวแทนพระบิดาเมื่ออายุเพียง 13 ปี และต้องดิ้นรนต่อสู้ขับเคี่ยวกับชนเผ่าต่าง ๆ ที่เป็นอริอยู่หลายปี ทรงปราบเผ่า “[[ไนแมน]]” ทางด้านตะวันตก พิชิตชนชาติ “[[ตันกุต]]” (เซี่ยตะวันตก) และยอมรับการจำนนของชาว “[[อุยกูร์]]”
 
ในปี พ.ศ. 1749 ''เตมูจิน'' ได้ทนงเปลี่ยนพระนามมาเป็น "เจงกีส ข่าน" และจากปี พ.ศ. 1754 ด้วยการรบพุ่งหลายครั้ง เจงกีส ข่าน ทรงสามารถยึดครองจีนตอนเหนือ [[จักรวรรดิคารา-คิไต|อาณาจักรอิไตอิไต]] (Qara Khitai Empire)(เหลียวตะวันตก) [[จักรวรรดิคาเรสม์]] และดินแดนอื่น ๆ อีกหลายแห่ง นับถึงเวลาเมื่อเจงกีส ข่าน สวรรคต จักรวรรดิมองโกลได้แผ่ขยายตั้งแต่[[ทะเลดำ]]ไปจด[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] โดยทั้งหมดเริ่มที่จีนตอนเหนือ หลังจากยึดจงตู (ปัจจุบันคือกรุงปักกิ่ง) ได้แล้ว เจงกีส ข่าน ได้ส่งทูตไปยัง[[ประเทศอิหร่าน|เปอร์เซีย]] แต่ทาง[[สุลต่าน]]ตัดหัวคนที่พระองค์ทรงส่งไป เจงกีส ข่าน จึงทรงมีพระราชบัญชาสั่งระดมพลไปบุกเปอร์เซีย เมืองทุกเมืองที่ต่อต้านจะถูกปล้นชิงและทำลาย หลังการยึด เจงกีส ข่าน ได้มีพระราชบัญชาสั่งทหาร 10,000 คนบุกไปทางเหนือ โดยไม่ได้ถูกหยุดเลยจนถึงสุดขอบทะเลยังใกล้เคียงตะวันออกกลาง