ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประกวดเพลงยูโรวิชัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SirPSchwegen (คุย | ส่วนร่วม)
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
บรรทัด 47:
| italic_title = no
}}
'''การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป''' หรือเรียกโดยทั่วไปว่า '''การประกวดเพลงยูโรวิชัน''' ({{Lang-en|Eurovision Song Contest}}; {{Lang-fr|Concours Eurovision de la chanson}}) คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก [[สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป]] (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือก[[เพลง]]และ[[นักร้อง]] ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง
 
==รูปแบบการประกวด==
คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศ[[อิสราเอล]] [[โมร็อกโก]]และ[[ออสเตรเลีย]] แต่ไม่รวม[[ประเทศลิกเตนสไตน์|ลิกเตนสไตน์]] โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศ[[รัสเซีย]]จึงมีคะแนนเท่ากับ[[โมนาโก]] โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน
 
มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ [[สเปน]] [[สหราชอาณาจักร]] [[เนเธอร์แลนด์]] และ[[ฝรั่งเศส]]) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ [[สหราชอาณาจักร]] [[ฝรั่งเศส]] [[เยอรมนี]] และ[[สเปน]] จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่ม[[อิตาลี]]เข้าไปด้วย ส่วน[[ออสเตรเลีย]]ได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ
ประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือก[[เพลง]]และ[[นักร้อง]] ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ เพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง โดยประเภทของเพลงในการแข่งขันมีความหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น อาหรับ, [[ดนตรีเคลติก]], [[แดนซ์]], [[โฟล์ก]], ละติน, นอร์ดิก, ป็อป-แร็ป, [[ร็อก]] และอื่นๆ
 
ตั้งแต่ปี 2016 คะแนนจะถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือจากคณะกรรมการคือผู้เชี่ยวชาญ และจากประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศ[[อิสราเอล]] [[โมร็อกโก]]และ[[ออสเตรเลีย]] แต่ไม่รวม[[ประเทศลิกเตนสไตน์|ลิกเตนสไตน์]] โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์อย่างละครึ่งหนึ่ง ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศ[[รัสเซีย]]จึงมีคะแนนเท่ากับ[[โมนาโก]] โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน
 
ประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียวเท่านั้น (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ [[สเปน]] [[สหราชอาณาจักร]] [[เนเธอร์แลนด์]] และ[[ฝรั่งเศส]])
 
หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนจากผู้ชมที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ
 
มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ [[สเปน]] [[สหราชอาณาจักร]] [[เนเธอร์แลนด์]] และ[[ฝรั่งเศส]]) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ [[สหราชอาณาจักร]] [[ฝรั่งเศส]] [[เยอรมนี]] และ[[สเปน]] จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่ม[[อิตาลี]]เข้าไปด้วย ส่วน[[ออสเตรเลีย]]ได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 2526 ประเทศ
 
==การออกอากาศ==
 
[[ไฟล์:Lordi performing at the ESC 2007.jpg|thumb|200px|right|ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ]]
เส้น 56 ⟶ 67:
 
ตั้งแต่ปี 2000 การแข่งขันได้มีการแพร่ภาพทาง[[อินเทอร์เน็ต]]<ref>Philip Laven (July 2002).[http://www.ebu.ch/en/technical/trev/trev_291-editorial.html Webcasting and the Eurovision Song Contest.]European Broadcasting Union. เรียกดูเมื่อ 2006-08-21. </ref> และในปี 2015 สหภาพฯ ได้เปิดช่องทางการถ่ายทอดสดผ่าน[[ยูทูบ]]<ref>[http://www.streamingmedia.com/press/view.asp?id=4907 Eurovision song contest 2006 - live streaming]Octoshape (8 June 2006). เรียกดูเมื่อ 2006-08-21.</ref>
ประเภทของเพลงในการแข่งขันมีความหลากหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น อาหรับ, [[ดนตรีเคลติก]], [[แดนซ์]], [[โฟล์ก]], ละติน, นอร์ดิก, ป็อป-แร็ป, [[ร็อก]] และอื่นๆ
 
==ผู้มีชื่อเสียงจากการประกวด==
ศิลปินดังที่ชนะเลิศจากรายการนี้ เช่น [[เซลีน ดิออน]] ([[สวิสเซอร์แลนด์]]) ปี 1988, [[แอ็บบ้า]] ([[สวีเดน]]) ปี 1974, [[ดานา อินเตอร์เนชันแนล]] ([[อิสราเอล]]) ปี 1998, [[ลอร์ดิ]] ([[ฟินแลนด์]]) ปี 2006, [[มาริยา เชริโฟวิช]] (Marija Šerifović) จากประเทศ[[เซอร์เบีย]] ปี 2007, [[ดิมา บิลาน]] (Dima Bilan) จาก[[รัสเซีย]] ปี 2008 และ [[อเล็กซานเดอร์ รืยบัค]] (Alexander Rybak) จาก[[นอร์เวย์]] ปี 2009 และ[[เลนา เมเยอร์-ลันดรุท]] (Lena Meyer-Landrut) จากเยอรมนี ปี 2010
 
ศิลปินดังที่ชนะเลิศจากรายการนี้ เช่น [[เซลีน ดิออน]] ([[สวิสเซอร์แลนด์]]) ปี 1988, [[แอ็บบ้า]] ([[สวีเดน]]) ปี 1974, [[ดานา อินเตอร์เนชันแนล]] ([[อิสราเอล]]) ปี 1998, [[ลอร์ดิ]] ([[ฟินแลนด์]]) ปี 2006, [[มาริยา เชริโฟวิช]] (Marija Šerifović) จากประเทศ[[เซอร์เบีย]] ปี 2007, [[ดิมา บิลาน]] (Dima Bilan) จาก[[รัสเซีย]] ปี 2008 และ [[อเล็กซานเดอร์ รืยบัค]] (Alexander Rybak) จาก[[นอร์เวย์]] ปี 2009 และ[[เลนา เมเยอร์-ลันดรุท]] (Lena Meyer-Landrut) จากเยอรมนี ปี 2010
และเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2005 ได้มีการ[[คองกราทูเลชั่น 50 ปีการประกวดเพลงยูโรวิชัน|จัดฉลองพิเศษ]]ครบรอบ 50 ปี ทาง[[สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป]] ก็ได้คัดเลือกเพลงดังในแต่ละทศวรรษ มาจัดโชว์แข่งขันกัน โดยเพลงที่ชนะคือเพลง [[Waterloo]] ขับร้องโดยวง [[Abba]] ตัวแทนจากสวีเดนในปี [[การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974|1974]]
 
== เจ้าภาพและผู้ชนะในแต่ละปี ==