ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อารามเอ็ททาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ภาพ: Ettal abbey 001.JPG|thumb|270px|ด้านหน้าวัด]]
'''วัดเอ็ททาล'''([[ภาษาอังกฤษ]]: Ettal Abbey) เป็นวัด[[ลัทธิเบ็นนาดิคติน]] ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านชือเดียวกันใกล้กับเมืองโอเบอร์อัมเมอร์เกา (Oberammergau) และเมือง การ์มิช-พาร์เทนเคิร์ทเช็น (Garmisch-Partenkirchen) ในบริเวณบาวาเรีย (Bavaria) [[ประเทศเยอรมันีีเยอรมัน]]
 
==ประวัติ==
[[ภาพ: Ettal5.jpeg|thumb|270px|ภายใน]]
วัดเอ็ททาลก่อตั้งเมื่อขึ้นวันที่ 28 เมษายน ปี ค.ศ. 1330 ตรงกับวันสมโภชน์ประจำปีของ[[นักบุญ]]วิทาลลิสแห่งมิลาน (Vitalis of Milan) โดย พระเจ้าหลุยส์ที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือลุดวิกบาวาเรียน (Ludwig the Bavarian) ที่หุบเขากราสแวง (Graswang valley) ตามที่พระองค์ได้ให้คำปฏิญาณไว้หลังจากกลับมาจาก[[ประเทศอิตาลี]] ตรงจุดยุทธศาสตร์สำคัญทางการค้าขายระหว่างประเทศอิตาลีและเมืองงออกออกสเบิร์ก ประเทศเยอรมันีเยอรมัน ตามตำนานกล่าวว่าม้าของพระเจ้าลุดวิกผงกหัวสามครั้งตรงที่ที่ต่อมาเป็นที่สร้างวัดเดิม ซึ่งในปัจจุบันเป็นที่ตั้งรูปปั้นของ [[พระแม่มารี]] ที่เรียกกันว่า “Frau Stifterin” หรือ “Ettal Madonna” (เอ็ททาลมาดอนนา) เป็นศิลปะตระกูลปิซาโน (Pisano) ซึ่งเป็นของขวัญที่พระเจ้าลุดวิกทรงมอบให้แก่วัด รูปปั้นนี้กลายมาเป็น[[วัตถุมงคลในคริสต์ศาสนา|วัตถุมงคล]] ที่นักแสวงบุญนิยมกันมาสักการะ วัดนี้อุทิศให้แก่การ[[อัสสัมชัญ]]ของพระแม่มารี
 
[[สถาปัตยกรรม]]เดิมเป็นแบบ[[ศิลปะกอธิค|กอธิค]] สร้างระหว่างปี ค.ศ. 1330 ถึงปี ค.ศ. 1370 เป็นสิ่งก่อสร้างที่ไม่ใหญ่นักเมื่อเทียบกับวัดระดับเดียวกันใน[[ยุคกลาง]]ในบริเวณบาวาเรีย
บรรทัด 12:
วัดได้รับความเสียหายมากจากกองทัพของมอริส แห่ง แซ็กโซนี (Maurice of Saxony) ระหว่าง[[การปฏิรูปศาสนา]] แต่รอดจากการถูกทำลายระหว่างสงครามสามสิบปี ([[:en:Thirty Years' War|Thirty Years' War]]) ระหว่างปี ค.ศ. 1618 ปี ค.ศ. 1648
 
เมื่อปี ค.ศ. 1709 ภายใต้แอ็บบ็อตพลาซีดุสที 2 (Abbot Placidus II Seiz) ถือกันว่าเป็นยุคทองของวัดนี้ท่านก็ได้ก่อตั้ง “Knights' Academy” (“Ritterakademie”) ซึ่งกลายมาเป็นสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงและเป็นการเริ่มเป็นแนวทางการศึกษาของวัดแห่งนี้ แต่เมื่อปี ค.ศ. 1744 วัดก็ถูกไฟใหม้ไหม้จนเกือบไม่เหลือ วัดที่สร้างแทนเป็นวัดที่สร้างอย่างโอฬารแบบ[[ศิลปะบาโรก|บาโรก]] มีโดมสองชั้นตามแบบของ เอ็นริโค ซูคคาลลี (Enrico Zuccalli) [[สถาปนิก]] ชาวสวิส-อิตาลี ที่ทำงานอยู่ที่ [[มิวเชิน]]ผู้เป็นลูกศิษย์ของ [[จานลอเรนโซ เบร์นินี]] การตกแต่งภายในทำโดย โจเซฟ ชมุทเซอร์ (Josef Schmutzer) ช่าง[[ปูนปั้น|ปั้นปูน]]แบบ[[โรโคโคเวสโซบรุน]] ([[:en:Wessobrunner School|Wessobrunn School]]) และ [[โยฮันน์ แบ็พทิสต์ สตรอบ]] (Johann Baptist Straub) ผู้เป็นผู้ตกแต่งแท่นบูชาและบริเวณที่ทำพิธีรอบแท่นบูชา
ความใหญ่โตหรูหราของวัดทำให้วัดเพิ่มความสำคัญขึ้นและกลายมาเป็นสำนักสงฆ์ที่สำคัญที่สุดในบริเวณเชิง[[เทือกเขาแอลป์]]
บรรทัด 27:
เมื่อปี ค.ศ. 1993 วัดเอ็ททาลตั้งอดีตวัดเว็คเซลเบิร์ก (Wechselburg Abbey) ซึ่งเคยเป็นสำนักสงฆ์ [[ลัทธิออกัสติเนียน]] ขึ้นมาเป็นสำนักสงฆ์แบบเบ็นเนดิคติน
 
เมื่อปี ค.ศ. 2005 วัดนี้มีพระด้วยกัน 50 องค์ และอีก 5 องค์อยู่ทีเว็คเซลเบิร์ก วัดเอ็ททาลเป็นวัดเบ็นเนดิคตินที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของนิกายนี้และเป็นที่ดึงดูดึงดูดนักท่องเที่ยวปีละมากๆ
 
==อ้างอิง==
บรรทัด 64:
</gallery></center>
 
[[หมวดหมู่:วัดในประเทศเยอรมนีเยอรมัน|อ]]
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมบาโรก|อ]]